Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาที่มีปัญหาสุขภาพในระยะหลังคลอด,…
บทที่ 8 การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาที่มีปัญหาสุขภาพในระยะหลังคลอด
ภาวะหลอดเลือดดeอักเสบในอุงเชิงกราน (Pelvic Thrombophlebitis)
• เกิดจากการติดเชื้อบริเวณมดลูก โดยเฉพาะบริเวณที่เป็นที่เกาะของรกบริเวณ Fundus
• การอักเสบของเส้นเลือดในบริเวณกล้ามเนื้อมดลูกลุกลามเข้าไปใน Ovarian Vein ซึ่งข้างขวาจะเข้า Inferior Vena Cava ข้างซ้ายจะเข้า Renal Vein
อาการและอาการแสดง
• ปวดบริเวณท้องน้อยด้านล่างและปวดบริเวณสีข้าง (Flank) อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือทั้งสองอย่าง
• ตรวจพบก้อนบริเวณ Parametrium กดเจ็บตามเส้นเลือดที่มีการอักเสบ
• มักจะมีอาการปวดบริเวณที่มีการอักเสบในวันที่สองหรือสามหลังคลอด
• อาจจะมีไข้หรือไม่มีก็ได้
• ผลตรวจ CT หรือ MR
การรักษา
• การรักษาการติดเชื้อที่สำคัญ คือ การให้ยาปฏิชีวนะ
• ส่วนการให้ Heparin ร่วมด้วยเชื่อว่าอาจทำให้ไข้ลดลงช้าลง
เต้านมอักเสบ (Breast Abscess)
การอักเสบของต่อมน้ำนม พบในช่วง 3-4 สัปดาห์หลังคลอด มักจะเป็นข้างเดียว และบางตำเแหน่ง
สาเหตุ
• มีการติดเชื้อ เชื้อที่พบบ่อยคือ Staphylococcus Aureus
ถ้าไม่รักษาจะเกิดอาการรุนแรง
• หัวนมแตก ถลอกหรือมีรอยแตก จากการบีบนวดเต้านมมากๆเต้านมคัดมาก ท่อน้ำนมอุดตัน และจากการดูดนมของทารกที่มีเชื้อในจมูก และคอ โดยเชื้อเข้าสู่ท่อนมโดยตรง
อาการและอาการแสดง
• มีไข้
• ผิวหนังบริเวณเต้านมมีลักษณะ แดง ตึง แข็ง เจ็บ ปวด
• ผิวหนังจะนุ่ม เป็นมัน ต่อมน ้าเหลืองที่รักแร้อาจโต และเจ็บ
การรักษา
• เพาะเชื้อน้ำนมข้างที่มีการอักเสบก่อนเริ่มรักษา
• ให้ยาปฏิชีวนะที่ครอบคลุมเชื้อที่พบบ่อย
• ให้ยาแก้ปวด
• ให้นมบุตรได้ ยกเว้นมีอาการปวดมาก
• การเจาะระบายหนอง นิยมวิธีใช้เข็มเจาะดูด (needle aspiration)
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะติดเชื้อหลังคลอด
ขั้นประเมินข้อมูล (Assessment)
• การประเมินสาเหตุของการติดเชื้อ
• ปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ
• ปัจจัยส่งเสริมให้เกิดการติดเชื้อหลังคลอด .
• ประเมินบริเวณที่มีการติดเชื้อ
• ฝีเย็บ
• เยื่อบุโพรงมดลูกอักเสบ (Endometritis)
• หลอดเลือดดำอักเสบในอุ้งเชิงกราน
• การติดเชื้อกระจายออกนอกมดลูก ได้แก่ เยื่อบุช่องท้องอักเสบเป็นหนอง ในอุ้งเชิงกราน (Parametritis) และเยื่อบุช่องท้อง(Peritonitis
การให้พยาบาล
• การพยาบาลเพื่อการป้องกันการติดเชื้อหลังคลอด
• การให้คำแนะนำในการรักษาสุขภาพ สุขวิทยาส่วนบุคคล
• การพยาบาลเมื่อมีอาการ
• มีไข้ การระบายหนอง ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
• อาการปวด
• การส่งเสริมให้น้ำคาวปลาไหลดี
• จัดให้นอนท่า Fowler’ position
• การพยาบาลขณะมีอาการรุนแรง
• ดูแลการให้สารน้ำและอาหารทางหลอดเลือด
• การเตรียมอุปกรณ์กู้ชีวิตกรณีคาดว่าอาจมีภาวะช็อก
ก้อนเลือดคั่งที่ฝีเย็บ (Hematoma)
สาเหตุ
• การเย็บไม่ถึงก้นแผล
• การแตกของ เส้นเลือดดำขอด(varicose vein)
• มีรายงานเกิดจากการแตกของหลอดเลือดโป่งพอง (aneurysm) บริเวณhypogastric artery
อาการและอาการแสดง
• ปวดบริเวณทีมีก้อนเลือดคั่งชัดเจน
• รู้สึกปวดถ่วงในช่องคลอด
• อาจจะมีปัญหาปัสสาวะ หรือ อุจจาระลำบาก
การรักษา
• ถ้าขนาดของก้อนเลือดคั่งไม่ใหญ่ จะรักษาตามอาการและใช้น้ำแข็งกดทับ ให้ยาแก้ปวด ยาแก้อักเสบ
• ใส่สายสวนปัสสาวะไว้ถ้าผู้ป่วยปัสสาวะเองไม่ได้
• รักษาโดยวิธีผ่าตัดเข้าไปเอาก้อนเลือดคั่งออก
ภาวะผิดปกติด้านจิตใจหลังคลอด
• ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด (Postpartum depression)
• ภาวะที่จิตใจหม่นหมอง หดหู่ เศร้าสร้อย ร่วมกับรู้สึกท้อแท้ หมดหวัง
• มองโลกในแง่ร้าย จะแสดงให้เห็นว่าพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปจากเดิม
• อาการเด่นชัดหลังคลอด 2-3 เดือน มีอาการนานกว่า 2 สัปดาห์
การรักษา
• การบำบัดด้วยยา ในกลุ่ม Selective serotonin reuptake inhibitor เป็นอันดับแรก
• เข้ากลุ่มจิตบำบัด
การพยาบาล
• การดูแลให้มารดาได้รับความสุขสบายและการพักผ่อนอย่างเพียงพอ
• อธิบายสาเหตุความไม่สุขสบายและความแปรปรวนของอารมณ์และจิตใจในระยะหลังคลอด
• ให้ความสนใจ สร้างสัมพันธภาพที่ดีแก่มารดา พูดคุยให้การดูแลเอาใจใส่ ให้กำลังใจมารดาสม ่าเสมอ
• และควรแนะนำสามี และญาติให้กำลังใจมารดา และให้การช่วยเหลือมารดาในการดูแลทารกทันที ที่พบว่ามารดา เริ่มมีความยุ่งยากในการดูแลบุตร
• ในรายที่มีอาการรุนแรงพยาบาลควรเพิ่มความสังเกต ดูแลอย่างใกล้ชิด
• ภาวะจิตประสาทหลังคลอด (Postpartum psychosis)
• อาการมักจะเริ่มตั้งแต่ 48-72ชั่วโมง หลังคลอด และไม่พบอาการในผู้ป่ วยหลังคลอดเกิน 2 สัปดาห์แล้ว
• มีอาการรุนแรงทันที นอนไม่หลับ กระสับกระส่ายหงุดหงิดง่าย อารมณ์ไม่แน่นอนวิตกกังวลอย่างมาก อาการต่อมาคือ สับสน จำเวลา สถานที่ บุคคลไม่ได้ ความจำเสื่อม สมาธิเสียวุ่นวาย พูดเพ้อเจ้อ มีท่าทางแปลก ๆ ร้องไห้คร่ำครวญ หลงผิดหวาดระแวง ประสาทหลอน หูแว่ว บางรายซึม เบื่ออาหาร มีความติดว่าบุตรจะถูกแย่ง ถูกขโมย ตำหนิตนเอง ลงโทษว่าตนไม่ดี คิด และพยายามฆ่าตัวตาย
การรักษา
• รับรักษาในโรงพยาบาล และงดเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา
• การใช้ยา โดยยาที่ใช้จะมีอยู่ 3 กลุ่มคือ ยาต้านโรคจิต (Antipsychotic drug) ยาลดภาวะซึมเศร้า (Antidepressants) ยาควบคุมอารมณ์ (Mood stabilizer)
• สังเกตอาการอย่างใกล้ชิด
• ให้ความสนใจทุกกิจกรรมและคำพูด
• ป้องกันการทำร้ายตนเอง
• สิ่งที่อาจก่อให้เกิดอันตรายเก็บให้พ้นบริเวณที่มารดาพัก เช่นมีด กรรไกร
• ดูแลให้ได้รับยา
นางสาวรัตนาภรณ์ ใจอ่อน รหัสนักศึกษา 602701077 ชั้นปีที่ 4 รุ่น 35