Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารจัดการเมื่อเกิดอุบัติเหตุหมู่ - Coggle Diagram
การบริหารจัดการเมื่อเกิดอุบัติเหตุหมู่
สาธารณภัย/ภัยพิบัติ (disaster)
เกิดจากธรรมชาติ
น้ำท่วม
ไฟป่า
แผ่นดินไหว
ภัยแล้ง
แผ่นดินถล่ม
เกิดจากการกระทำของมนุษย์
ภัยจากสงคราม
ภัยจากการคมนาคมขนส่ง
ภัยจากการจราจร
ภัยจาการทำงาน
ภัยจากอัคคีภัย
ปัญหาและผลกระทบทางการสาธารณภัย
ระยะเกิดภัย
ปัญหาและผลกระทบทางเศรษฐกิจ
ผู้ประสบภัย สูญเสียทรัพย์สิน แหล่งทำมาหากิน ไม่มีรายได้
ปัญหาและผลกระทบทางสังคม การเมืองและการปกครอง
สังคมสับสนวุ่นวาย อาจเกิดความขัดแย้งในหมู่ประชาชนที่ประสบภัยเนื่องจากการแก่งแย่ง ความคิดเห็นในการบรรเทาภัย
ปัญหาและผลกระทบทางการสาธารณสุข
ผู้ประสบภัย เสียชีวิต พิการหรือทุพพลภาพ บาดเจ็บ สภาพจิตใจได้รับการกระทบกระเทือน อาจใช้การเผชิญปัญหาที่ไม่ เหมาะสม
ปัญหาและผลกระทบทางสาธารณูปโภค การคมนาคมขนส่ง
การประปา การไฟฟ้าและพลังงานอื่นๆ รวมถึงการคมนาคมขนส่ง ถูกทำลายหรือถูกตัดขาด
ปัญหาและผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมอาจถูกทำลายจนขาดสมดุล บางครั้งอาจกลายเป็นแหล่งเอื้อต่อการแพร่ระบาดของโรคได้
ระยะหลังเกิดภัย
ปัญหาและผลกระทบทางสังคม การเมือง และการปกครอง
ความขัดแย้งในการแก่งแย่งสิ่งของหรือแหล่งพักประโยชน์ต่างๆ
ปัญหาและผลกระทบทางสาธารณูปโภค การคมนาคมขนส่ง
เครื่องอุปโภคบริโภคที่ จำเป็นอาจขาดแคลน ทำให้ราคาสินค้าสูงขึ้น ส่งผลให้เกิดอาชญากรรมรูปแบบต่างๆ ขึ้นได้
ปัญหาและผลกระทบทางเศรษฐกิจ
ประเทศชาติต้องจัดสรรงบประมาณเพื่อฟื้นฟูบูรณะสิ่งเสียหาย การสงเคราะห์ทางการเงินหรือสิ่งของจำเป็นต่อการดำรงชีวิต
ปัญหาและผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศที่สมดุลถูกทำลายย่อมเกิดปัญหาที่เป็นลูกโซ่ต่างๆ ตามมา
ปัญหาและผลกระทบทางการสาธารณสุข
การเสียชีวิต พิการภายหลัง ส่วนปัญหาด้านจิตใจเกิดจาก การสูญเสียสิ่งที่ตนรักความเครียด
DISASTER paradigm
S - Support
เตรียมอุปกรณ์และทรัพยากรที่จำเป็นต้องใช้ในที่เกิดเหตุ
T - Triage/Treatment
การคัดกรองและการให้การรักษาที่รีบด่วนตามความจำเป็นของผู้ป่วย
A - Assess Hazards
ประเมินสถานที่เกิดเหตุเพื่อระแวดระวังวัตถุอันตรายต่างๆ ที่อาจเหลือตกค้างในที่เกิดเหตุ
S - Safety and Security
ประเมินความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานในที่เกิดเหตุ
E - Evacuation
การอพยพผู้บาดเจ็บระหว่างเหตุการณ์
I - Incident command
เป็นระบบผู้บัญชาเหตุการณ์และดูภาพรวมของการปฏิบัติการทั้งหมด
R - Recovery
การฟื้นฟูสภาพหลังจากเกิดเหตุการณ์
D - Detection
ประเมินสถานการณ์ว่าเกินกำลังหรือไม่
MASS Triage
A-Assess
กลุ่ม Expectant
การบาดเจ็บที่รักษาไม่ได้
แพทย์ควรปล่อยไว้และรีบไปให้การรักษาแก่ผู้ป่วยรายอื่นต่อไป
กลุ่ม Immediate
มองหาตำแหน่งที่มีผู้บาดเจ็บ
ประเมิน ABC อย่างรวดเร็ว
S-sort
กลุ่ม Immediate
ผู้บาดเจ็บซึ่งมีภาวะคุกคามชีวิตหรืออวัยวะ
กลุ่ม Delayed
ผู้บาดเจ็บที่สามารถรอรับการดูแลรักษาพยาบาลได้โดยที่อาการไม่แย่ลงอย่างรวดเร็วนัก
กลุ่ม Minimal
ผู้บาดเจ็บที่สามารถเดินไปมาได้
กลุ่ม Expectant
ผู้บาดเจ็บที่มีโอกาสรอดชีวิตน้อยมาก
M-Move
กลุ่ม Delayed
ถามว่า “ทุกคนที่ได้ยินผม ขอให้ยกมือหรือเท้าขึ้น แล้วเราจะไปช่วยคุณ”
สีเหลือง
กลุ่ม immediate
ประเมินผู้ป่วยที่ไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ ต้องได้รับการช่วยเหลือเร่งด่วนเป็นอันดับแรก
สีแดง
กลุ่ม Minimal
ตะโกนว่า “ ใครที่ได้ยินผมและต้องการความช่วยเหลือ ขอให้เดินไปที่ธงสีเขียว”
สีเขียว
S-send
ส่งไปยังโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาล
ส่งไปหน่วยเก็บรักษาศพ
รักษาแล้วปล่อยกลับจากที่เกิดเหตุเลย
วิธีการจำแนกและการใช้ป้ายสัญลักษณ์
การประเมินสภาพผู้ประสบภัย
โดยประเมินในเรื่อง ABC
การหายใจ (Breathing)
การไหลเวียนโลหิต (Circulation)
ทางเดินหายใจ (Airway)
การให้ป้ายสัญลักษณ์สีตามสภาพอาการของผู้ประสบภัย
ป้ายสีเหลือง (Yellow tag)
ป้ายสีเขียว (Green tag)
ป้ายสีแดง (Red tag)
ป้ายสีดำ (Black tag)
การคัดแยกผู้เจ็บป่วย ณ จุดเกิดเหตุ (Field Triage)
Triage sieve
หลักการการทำ Triage sieve
แยกผู้บาดเจ็บที่เดินได้ออกมาก่อน แล้วจัดกลุ่มนี้เป็น Minor/delayed priority 3 คือ ผู้ที่มีอาการไม่รุนแรง สามารถรอได้นานเกิน 24 ชั่วโมง
การประเมิน ABC อย่างรวดเร็ว
ผู้ที่หายใจได้ ให้ประเมินหายใจ ( B:Breathing)
ถ้าหายใจน้อยกว่า 9 ครั้ง/นาทีหรือมากกว่า 30 ครั้ง/นาที
จัดอยู่ในกลุ่ม Immediate priority 1
สีแดง
ถ้าหายใจ=10-29 ครั้ง/นาที ให้ประเมินการไหลเวียน
การตรวจ Capillary refill time
การตรวจ Capillary refill time โดยกดเล็บของผู้ป่วยนาน 5 วินาทีแล้วปล่อย
ถ้า Capillary refill time มากกว่า 2 วินาที
จัดอยู่ในกลุ่ม Immediate priority 1
สีแดง
ถ้า Capillary refill timeน้อยกว่า 2 วินาที
จัดอยู่ในกลุ่ม Urgent priority 2
สีเหลือง
ผู้ที่ไม่หายใจ ให้เปิดทางเดินหายใจ ( A:Airway)
ถ้าเปิดทางเดินหายใจ แล้วยังไม่หายใจ
จัดอยู่ในกลุ่มเสียชีวิต
สีดำ
ถ้าเปิดทางเดินหายใจ แล้วหายใจได้
จัดอยู่ในกลุ่ม Immediate priority 1
สีแดง
การตรวจชีพจร
ถ้าชีพจรมากกว่า 120 ครั้ง/นาที
จัดอยู่ในกลุ่ม Immediate priority 1
สีแดง
ถ้าชีพจรน้อยกว่า 120 ครั้ง/นาที
จัดอยู่ในกลุ่ม Urgent priority 2
สีเหลือง
Triage sort
หลักการการทำ Triage sort
ใช้ trauma score
systolic blood pressure
Glascow coma scale
respiratory rat
วัด trauma score ได้แต่ละตัว เป็น score 0-4
เมื่อนำ score ทั้ง 3 มารวมกันจะได้เป็นค่า TRTS ซึ่งมีคะแนนเต็ม 12
11 คะแนน
ต้องดูแลรักษาภายใน 2-4 ชั่วโมง
กลุ่ม Urgent priority 2
สีเหลือง
12 คะแนน
รอได้นานเกิน 4 ชั่วโมง
กลุ่ม Minor/ Deleyed priority 3
สีเขียว
1-10 คะแนน
ต้องช่วยอย่างเร่งด่วน
กลุ่ม Immediate priority 1
สีแดง
0 คะแนน
เสียชีวิต
สีดำ
การปฐมพยาบาล
การประเมินสภาพเพื่อให้การปฐมพยาบาล
การประเมินขั้นต้น (Primary assessment)
ประเมินการหายใจ (Breathing)
ประเมินการไหลเวียนโลหิต (Circulation)
การประเมินทางเดินหายใจ (Airway)
การประเมินขั้นที่สอง (Secondary assessment)
ประเมินสัญญาณชีพ
ตรวจร่างกายตั้งแต่ศีรษะจรดเท้า
ตรวจการทำงานของระบบประสาทซ้ำโดยละเอียด
ข้อปฏิบัติในการเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัย
5.ประมาณกำลังที่จะยกผู้ป่วย
6.คนหนึ่งเป็นคนออกคำสั่งและต้องบอกแผนการเคลื่อนย้ายกับผู้ช่วยเหลือคนอื่นๆ
4.เมื่อขาดอุปกรณ์ในการช่วยเหลือควรประยุกต์ใช้วัสดุอุปกรณ์ที่หาได้จากสถานที่เกิดสาธารณภัย
7.ยกผู้ประสบภัย
3.ก่อนทำการเคลื่อนย้ายต้องประเมินขั้นต้น ตามหลัก ABC
8.ขณะเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัยควรปฏิบัติด้วยความนุ่มนวลระมัดระวัง
2.ประเมินว่าเป็นภัยชนิดใด
9.ให้ความอบอุ่นโดยใช้ผ้าห่มหรือผ้าปกคลุมตัวผู้ประสบภัย
1.วางแผนและเตรียมความพร้อม
10.พูดคุยให้กำลังใจและปลอบโยนผู้ประสบภัยที่ตระหนกตกใจ
11.ประเมินสภาพผู้ประสบภัยเป็นระยะๆ
12.เมื่อเสร็จสิ้นการเคลื่อนย้ายควรบันทึกรายงาน
หลักการเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัย
หลีกเลี่ยงการกระทบกระเทือนที่อาจทำให้ผู้ประสบภัยได้รับอันตรายเพิ่มขึ้น
รีบนำส่งสถานพยาบาลด้วยความรวดเร็วและอย่างปลอดภัย
ใช้วิธีการเคลื่อนย้ายที่ง่าย สะดวก รวดเร็ว ถูกต้องและปลอดภัยที่สุด
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย มี 2 วิธี
การเคลื่อนย้ายแบบฉุกเฉิน
วิธีปฏิบัติ
การดึงเสื้อบริเวณคอและไหล่
2.การลากด้วยใช้มือทั้งสองสอดใต้แขน
3.การลากโดยใช้ผ้ารองตัวผู้เจ็บป่วย
4.การลากที่ปลายเท้าผู้เจ็บป่วย
วิธีปฏิบัติในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยแบบไม่ฉุกเฉิน
การยกและเคลื่อนย้ายโดยผู้ช่วยเหลือ 2 คน
วิธีที่ 1
การอุ้มแบกหน้า – หลัง
ในกรณีที่ผู้เจ็บป่วยตัวใหญ่ อุ้มคนเดียวไม่ไหวและไม่มีกระดูกส่วนใดหัก
3) ผู้ช่วยเหลือคนที่อยู่ปลายเท้าจับข้อมือผู้เจ็บป่วยทั้งสองข้าง แล้วดึงตัว ผู้เจ็บป่วยขึ้นในท่านั่ง
4) ผู้ช่วยเหลือคนที่อยู่ปลายเท้าหันหลังกลับให้ผู้เจ็บป่วย และอยู่ระหว่างขา 2 ข้างของผู้เจ็บป่วย และใช้มือจับบริเวณข้อพับเข่าทั้งสองข้าง แต่ถ้าผู้เจ็บป่วยเป็นผู้หญิง ผู้ช่วยเหลือเข้าด้านข้างผู้เจ็บป่วยแล้วสอดแขนข้างหนึ่งเข้าใต้ข้อพับเข่า มืออีกข้างกดบริเวณข้อเท้าในท่าที่พร้อมจะยก
1) ให้ผู้เจ็บป่วยนอนราบกับพื้น
5) ผู้ช่วยเหลือที่อยู่ด้านหลังผู้เจ็บป่วยให้สอดแขนเข้าใต้รักแร้ พร้อมจับแขนผู้เจ็บป่วย พับเข้าหาตัว
2) ผู้ช่วยเหลือคนที่ 1 อยู่ด้านศีรษะของผู้เจ็บป่วย ส่วนผู้ช่วยเหลืออีกคนอยู่ด้านปลายเท้า
6) เมื่อผู้ช่วยเหลือทั้งสองพร้อมยก ให้ทั้งสองคนให้จังหวะซึ่งกันและกันและยกผู้เจ็บป่วยขึ้นพร้อมๆกัน
วิธีที่ 2
การอุ้มแบกด้านข้าง
2) ให้ผู้เจ็บป่วยอยู่ในท่านั่ง แล้วเอามือโอบบ่าผู้ช่วยเหลือทั้งสองคน
3) ผู้ช่วยเหลือทั้งสองคนใช้มือด้านชิดตัวผู้เจ็บป่วยอ้อมไปด้านหลัง ผู้เจ็บป่วย ในลักษณะมือของผู้ช่วยเหลือไขว้กัน และจับขอบกางเกงผู้เจ็บป่วย
1) ผู้ช่วยเหลือทั้งสองคนเข้าด้านข้างของผู้เจ็บป่วย 2 ด้าน
วิธีที่ 3
การพยุงเดินโดยผู้ช่วยเหลือ 2 คน
2) ผู้ช่วยเหลือแต่ละคนจับข้อมือผู้เจ็บป่วยมาคล้องคอตนเอง แล้วค่อยๆพยุงเดิน และมีการบอกเล่าทิศทางการเดินกับผู้ป่วยว่าจะเดินไปทางใด
1) ผู้ช่วยเหลือทั้งสองคนเข้าประคอง
การยกและเคลื่อนย้ายโดยผู้ช่วยเหลือ 3 คน
2) ให้ผู้ช่วยเหลือคนใดคนหนึ่งทำหน้าที่หัวหน้าทีม สั่งการและให้จังหวะแก่สมาชิกในทีม เพื่อความพร้อมเพรียงในการยก
3) ผู้ช่วยเหลือทั้ง 3 คนวางมือบนลำตัวผู้เจ็บป่วยโดยตำแหน่ง
ผู้ช่วยคนที่ 1
วางมือตำแหน่งหน้าอกหรือลำตัวช่วงบน
ผู้ช่วยคนที่ 2
วางมือตำแหน่งสะโพกและต้นขาด้านบน
ผู้ช่วยคนที่ 3
วางมือตำแหน่งต้นขาด้านล่างและส่วนปลายขา
1) ผู้ช่วยเหลือทั้ง 3 คนนั่งท่าชันเข่าเดียวกัน เรียงแถวกันที่ด้านใดด้านหนึ่งของผู้เจ็บป่วย
4) ผู้ช่วยเหลือทั้ง 3 คนสอดมือเข้าใต้ลำตัวของผู้เจ็บป่วยตรงตามตำแหน่งที่วางมือไว้
5) หัวหน้าทีมสั่งการให้จังหวะให้แก่สมาชิกในทีมยกผู้เจ็บป่วยขึ้นพร้อมกันวางบนเข่า
6) หัวหน้าทีมสั่งการให้สมาชิกในทีมยกผู้เจ็บป่วยขึ้นพร้อมๆกัน แล้วลุกขึ้นยืน พร้อมทั้งพับตัวผู้เจ็บป่วยเก็บเข้าหาตัวผู้ช่วยเหลือทั้ง 3 คน
7) หัวหน้าทีมสั่งการให้ออกเดินไปด้านซ้ายหรือด้านขวา ซึ่งจังหวะในการเดินเป็นไปในลักษณะก้าวชิดก้าวพร้อมๆกันทั้ง 3 คน จนถึงที่หมาย
8) เมื่อถึงที่หมายจะวางผู้เจ็บป่วยลงโดยให้ผู้ช่วยเหลือทั้ง 3 คนนั่งในท่าคุกเข่าข้างหนึ่งพร้อมๆกัน และผู้เจ็บป่วยอยู่ในท่าเดียวกับช่วงจังหวะตอนที่ยกขึ้น
9) หัวหน้าทีมสั่งการให้วางผู้เจ็บป่วยลงพร้อมๆกัน
การยกและเคลื่อนย้ายโดยผู้ช่วยเหลือคนเดียว
วิธีที่ 1
การประคองเดิน
2) ให้ผู้เจ็บป่วยเดินนำหน้า ผู้ช่วยเหลือต้องคอยมองเท้าของผู้เจ็บป่วย
3) ผู้ช่วยเหลือประชิดตัวผู้เจ็บป่วยด้านที่ได้รับบาดเจ็บ จับข้อมือผู้เจ็บป่วยมาคล้องบริเวณคอผู้ช่วยเหลือ พร้อมทั้งใช้ขาตนเองล็อคขาผู้ป่วย
1) บอกให้ผู้เจ็บป่วยทราบแผนการเคลื่อนย้าย
วิธีที่ 2
การอุ้ม - แบก
ในกรณีผู้เจ็บป่วยที่มีน้ำหนักน้อยหรือตัวเล็กกว่าผู้ช่วยเหลือ ไม่มีกระดูกที่ใดหัก เป็นวิธีที่สะดวก รวดเร็วและปลอดภัย
การยกและเคลื่อนย้ายโดยผู้ช่วยเหลือ 4 คนหรือมากกว่า
วิธีที่ 1
แบ่งผู้ช่วยเหลือออกเป็นข้างละ 2 คนนั่ง ในท่าชันเข่าข้างหนึ่ง (ควรเป็นข้างเดียวกันทั้งหมด) ข้างตัวผู้เจ็บป่วย
วิธีที่ 2
แบ่งผู้ช่วยเหลือเป็นด้านศีรษะ ปลายเท้าและด้านข้างลำตัวตำแหน่งบริเวณกึ่งกลางลำตัวผู้เจ็บป่วย โดยทุกคนหันหน้าไปในทิศทางเดินหน้า
การเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บที่ติดภายในตัวรถ
การเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บที่ติดภายในรถแบบฉุกเฉิน Urgent move
5) ผู้ช่วยเหลือคนที่ 1 ทำการรวบขาสองข้างของผู้บาดเจ็บ แล้วค่อยๆหมุนตัวผู้บาดเจ็บพร้อมกันทั้ง 3 คน พร้อมๆกัน โดยให้สะโพกเป็นศูนย์กลาง ให้ขาทั้งสองข้างมาอยู่บริเวณเบาะนั่งด้านข้าง
6) ผู้ช่วยเหลือคนที่ 4 คอยจับแผ่นกระดานรองหลังยาวไว้
4) ผู้ช่วยเหลือคนที่ 3 ซึ่งยืนอยู่ที่ขอบประตูด้านนอกตัวรถ ทำหน้าที่ประคองศีรษะผู้บาดเจ็บแทน ผู้ช่วยเหลือคนที่ 1
7) ผู้ช่วยเหลือทั้ง 4 ค่อยประคองตัว และหมุนตัวผู้บาดเจ็บให้เอนนอนลงบนแผ่นกระดานรองหลังยาว โดยผู้ช่วยเหลือคนที่ 3 ยังคงประคองศีรษะไว้ตลอดเวลา ผู้ช่วยเหลือคนที่ 2 จับบริเวณใต้รักแร้และลำตัว และผู้ช่วยคนที่ 1 ทำการประคองส่วนขา
3) ผู้ช่วยเหลือคนที่ 2 สอดแผ่นกระดานรองหลังยาว Long spinal board รองใต้ก้นผู้บาดเจ็บ
8) ค่อยๆดึงตัวผู้บาดเจ็บให้นอนบนกระดานรองหลังยาว แล้วจึงยกออกจากตัวรถพร้อมๆกัน
2) ผู้ช่วยเหลือคนที่ 2 ทำการประเมินสภาวะผู้บาดเจ็บเบื้องต้น และใส่อุปกรณ์ดามคอ
9) ทำการรัดตรึงและนำส่งโรงพยาบาลต่อไป
1) ผู้ช่วยเหลือคนที่ 1 เข้าทางด้านข้างหรือด้านเบาะหลังของรถ ทำการยึดตรึงประคองศีรษะผู้บาดเจ็บให้อยู่นิ่งๆ
กรณีที่ผู้บาดเจ็บติดอยู่นาน
ต้องใช้เครื่องมือตัดถ่าง
การเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บที่ติดภายในรถแบบฉุกเฉิน Emergency move
2) ผู้ช่วยเหลือใช้สองมือสอดเข้าใต้รักแร้ผู้บาดเจ็บ แล้วจับมือผู้บาดเจ็บไว้
3) ค่อยๆหมุนตัวผู้บาดเจ็บให้จุดศูนย์กลางอยู่ที่สะโพก แล้วค่อยๆดึงตัวผู้บาดเจ็บออกจากรถ
1) ผู้ช่วยเหลือเข้าทางประตูด้านข้าง ใช้สองมือจับที่สะโพกและแขน ลากดึงตัวผู้บาดเจ็บให้ชิดขอบประตูด้านที่จะใช้เคลื่อนย้าย
4) ขณะที่ทำการดึงตัวผู้บาดเจ็บออกจากรถ ให้ใช้ส่วนบนของลำตัวประคองตัวผู้บาดเจ็บ และใช้ส่วนของต้นขารองรับน้ำหนักผู้บาดเจ็บ
การใช้กระดานรองหลังชนิดสั้น Short spinal board or Kendrick Extrication Device : KED
2) ผู้ช่วยเหลือคนที่ 1 ยืนด้านหลังผู้บาดเจ็บเพื่อทำการยึดตรึงศีรษะให้นิ่งและเป็นแนวนอน
3) ผู้ช่วยเหลือคนที่ 2 ใส่ Hard collar จากด้านหน้าหรือด้านข้าง แล้วเลื่อนจนอยู่ใน ระดับที่ถูกต้อง
4) หลังจากใส่ Hard collar แล้วผู้ช่วยเหลือคนที่ 2 สอด KED เข้าทางด้านหลังผู้บาดเจ็บ
5) ให้ส่วนของศีรษะและลำตัวพอดีกับผู้บาดเจ็บ
6) ผู้ช่วยเหลือคนที่ 2 ยึดตรึงส่วนที่ศีรษะ เอว หน้าอก ซอกรักแร้ ต้นขา
1) ควรมีผู้ช่วยเหลือ 2 – 3 คน
7) ภายหลังที่ยึดตรึงผู้บาดเจ็บเรียบร้อยแล้ว เลื่อนตัวผู้บาดเจ็บลงนอนบนกระดานรองหลังชนิดยาว เพื่อยึดตรึงให้ติดกัน และเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บได้ไม่เลื่อนหลุดต่อไป