Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การช่วยเหลือในการทำสูติศาสตร์หัตถการ, น.ส.ปณัฐฐา วงภักดี รหัส…
บทที่ 7
การช่วยเหลือในการทำสูติศาสตร์หัตถการ
การพยาบาลผู้คลอดที่ได้รับการทำคลอดโดยใช้คีม
(Forceps Delivery)
ความหมาย
เป็นวิธีช่วยคลอดโดยผู้ทำคลอดจะใช้คีม (forcep)
ดึงศีรษะทารกให้คลอดผ่านทางช่องคลอด โดยที่คีมจะทำหน้าที่แทนแรงเบ่งของผู้คลอด
ส่วนประกอบของคีม
ประเภทของคีม
หน้าที่ของคีม
Extractor (ตัวดึง)
จะใช้ในผู้คลอดที่ไม่มีแรงเบ่งพอหรือไม่ต้องการให้ผู้คลอดออกแรง
Rotation (ตัวหมุน)
ใช้ในกรณี Deep transverse arrest of head
ข้อบ่งชี้ในการทำคลอดด้วยคีม
การทำเพื่อการรักษาและการป้องกัน (Prophylactic or Elective)
ช่วยลดความกดดันบางประการที่เกิดขึ้นกับผู้คลอดทั้งทางร่างกายและอารมณ์
ป้องกันการฉีกขาดหรือยืดขยายมากเกินไปของฝีเย็บ
จำกัดปริมาณการเสียเลือดจากการคลอด
ป้องกันสมองถูกทำลายจากภาวะพร่องออกซิเจน
ข้อบ่งชี้ด้านแม่
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี/มารดาไม่มีแรงเบ่ง
กระดูกเชิงกรานค่อนข้างแคบหรือ Rigid pelvic floor หรือ Rigid perineum
ส่วนนำของทารกค่อนข้างใหญ่ หรือ Occiput อยู่ด้านหลัง หรือ Deep transverse arrest of head
ผู้คลอดมีภาวะความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์
ผู้คลอดอ่อนเพลีย
ผู้คลอดมีสุขภาพไม่ดีจากโรคเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจ, ไทรอยด์, หลอดลมอักเสบ
มีปัญหาเลือดออกในสมอง
ไส้ติ่งอักเสบ
ข้อบ่งชี้ด้านทารก
Fetal distress
สายสะดือพลัดต่ำ
สภาวะที่เหมาะสมในการทำคลอดด้วยคีม
สภาวะที่เหมาะสมในการทำคลอดด้วยคีม
ส่วนนำมีสภาวะที่เหมาะสมสามารถคลอดทางช่องคลอดได้
ศีรษะทารกต้อง Deep engaged แล้ว
ไม่พบภาวะผิดสัดส่วนระหว่างส่วนนำกับช่องเชิงกราน
กระเพาะปัสสาวะและทวารหนักต้องว่าง
ถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว
ทารกในครรภ์ยังมีชีวิตอยู่
ขั้นตอนของการทำคลอดโดยใช้คีม
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อตามขั้นตอนการทำคลอดปกติ
สวนปัสสาวะให้ผู้คลอด
แพทย์ผู้ทำประเมินสภาพช่องเชิงกรานผู้คลอดโดยการตรวจภายใน
การใส่ใบคีมต้องใส่ข้างซ้ายก่อนข้างขวา
เมื่อใส่ใบคีมทั้งสองข้างครบจึงล็อค
Tentative traction เป็นการทดลองก่อนดึงจริง
Traction ควรดึงพร้อมกับมดลูกหดรัดตัวให้ดึงแต่ละครั้งนาน 1-2 นาที ขณะพักให้แก้
ล็อคออก
Removal แก้ปลดล็อค นำใบคีมขวาออกก่อนจึงนำใบคีมซ้ายออก
Birth of Head ทำคลอดศีรษะเหมือนตามปกติตามกลไกการคลอด
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อมารดา
มีการฉีกขาดของหนทางคลอด
อันตรายต่อกระดูกเชิงกราน เช่น Symphysis pubis แยก
กระทบกระเทือนต่อกระเพาะปัสสาวะ
ช็อคจากความเจ็บปวด ผู้คลอดไม่ทำด้วยความนุ่มนวล
ใช้คีมไม่ถูกต้อง เกิดการตกเลือด
ติดเชื้อ
อันตรายจากการแพ้ยาระงับความรู้สึก
ต่อทารก
แรงกดที่ศีรษะเกิด Asphyxia
กระทบกระเทือนต่อกระโหลกศีรษะ สมองและหนังศีรษะทารกในครรภ์
คีมกด Clavical plexus จะทำให้เกิด Erb’ s Palsy
คีมกด Facial nerve จะทำให้เกิด Facial Palsy
หูหนวกกระทบกระเทือนต่อ Auditory Organ
ปอดบวมและถุงลมแฟบ
การพยาบาลในการดูแลผู้คลอดที่ได้รับการช่วยคลอดโดยใช้คีม
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย ได้แก่
การตรวจทางหน้าท้อง
ตรวจช่องทางคลอด
การตรวจร่างกายทั่วไปและสัญญาณชีพ
การประเมินสภาพทารกในครรภ์
ภาวะจิตสังคม
ตัวอย่างข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการทำคลอดด้วยคีม
ทารกแรกเกิดมีโอกาสได้รับบาดเจ็บจากการคลอโดยใช้คีม
การพยาบาลผู้คลอดที่ได้รับการทำคลอดโดยใช้เครื่องดูดสุญญากาศ
(Vacuum Extractor)
ความหมาย
เป็นวิธีการคลอดโดยใช้เครื่องดูดสุญญากาศดูดและดึงศีรษะทารกให้คลอดผ่านทางช่องคลอดในระยะที่ผู้คลอดมีมดลูกหดรัดตัวเท่านั้น
และการทำคลอดไหล่ ลำตัวและแขนขาตามวิธีการคลอดตามปกติ เครื่องดูดสุญญากาศจะทำหน้าที่เสริมแรงแบ่งของผู้คลอด
ส่วนประกอบ
Vacumm cup
Traction bar หรือ Handle
Suction tube
เครื่องดูดสุญญากาศ
แผ่นโลหะ (Mental plate) และโซ๋โลหะ (Chain)
ข้อบ่งชี้
Uterine inertia โดยมีปัญหามดลูกหดรัดตัวไม่ดีเนื่องจากอ่อนเพลีย
โรคแทรกซ้อน เช่น ความดันโลหิตสูง, โรคหัวใจ
ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะ Mild fetal asphyxia
Mild CPD
ศีรษะทารกไม่หมุนตามกลไกการคลอดปกติ
ข้อห้าม
CPD
ทารกในครรภ์อยู่ในท่าผิดปกติ
ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะวิกฤติที่ต้องช่วยให้คลอดโดยด่วน
ทารกในครรภ์เสียชีวิตแล้ว
ทารกคลอดก่อนกำหนด
มีการพลัดต่ำของสายสะดือ
ทารกอยู่ในภาวะ Fetal distress โดยที่ปากมดลูกยังไม่เปิด
สภาวะที่เหมาะสมในการทำ V/E
ปากมดลูกเปิดหมด
ส่วนนำอยู่ในสภาวะที่เหมาะสมสามารถคลอดทางช่องคลอดได้
ศีรษะในครรภ์ต้อง Deep engaged แล้ว
ไม่พบปัญหาผิดสัดส่วนกันระหว่างศีรษะทารกกับช่องเชิงกรานของผู้คลอด
กระเพาะปัสสาวะและทวาหนักต้องว่าง
ถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว
ทารกในครรภ์ยังมีชีวิตอยู่
เทคนิคในการทำคลอด V/E
ทำเครื่องมือให้ Sterile
การเตรียมเครื่องมือ
การเตรียมผู้คลอด : Lithotomy
ยาชา - Local, Pudendal block
การใส่ถ้วย 0.2 กก/ตร.ซม./ 2 นาที 0.6 -0.8 ใน 6 -10 นาที
จังหวะและวิธีดึง
ระยะเวลาในการดึง < 30 นาที
ภาวะแทรกซ้อน
ด้านมารดา
มีการฉีกขาดของหนทางคลอด
อันตรายต่อกระดูกเชิงกราน เช่น Symphysis pubis แยก
กระทบกระเทือนต่อกระเพาะปัสสาวะ
ช็อคจากความเจ็บปวด
ผู้คลอดไม่ทำด้วยความนุ่มนวล
ใช้เครื่องมือไม่ถูกต้อง เกิดการตกเลือด
ติดเชื้อ
อันตรายจากการแพ้ยาระงับความรู้สึก
ด้านทารก
อาจจะเกิด Cephal hematoma
อาจจะมีเลือดอกที่จอตาแต่จะหายได้ภายใน 1 สัปดาห์
แรงกดที่ศีรษะเกิด Asphyxia
แรงดูดกระทบกระเทือนต่อกระโหลกศีรษะสมองและหนังศีรษะทารกในครรภ์
แรงดูดกระทบกระเทือนต่อ Facial nerve จะทำให้เกิด Facial Palsy
หูหนวกกระทบกระเทือนต่อ Auditory Organ
ปอดบวม (Pneumonia) และ
ถุงลมแฟบ (Atelectasis)
การพยาบาล
การซักประวัติ
ประวัติเกี่ยวกับอาการผิดปกติในการตั้งครรภ์
และการคลอดครั้งก่อน
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางหน้าท้อง
ตรวจช่องทางคลอด
การตรวจร่างกายทั่วไปและสัญญาณชีพ
การประเมินสภาพทารกในครรภ์
ภาวะจิตสังคม
ประเมินความวิตกกังวลของผู้คลอดต่อ
การช่วยคลอดด้วยเครื่องดูดสุญญากาศ
การตรวจพิเศษและการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจสภาพความสมบูรณ์
ของทารกโดย Ultrasound
การตรวจความเข้มข้นของเลือดมารดา
การตรวจปัสสาวะเพื่อหา albumin และ sugar
การชักนำการคลอด
(Induction of labour)
หมายถึง
การทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลงเมื่ออายุครรภ์มากกว่า 28 wks.
หรือทารกในครรภ์มีน้ำหนักตัวไม่น้อยกว่า 1,000 กรัม
เพื่อให้การคลอดเกิดขึ้นก่อนที่จะมีการเริ่มต้นของการเจ็บครรภ์เองตามธรรมชาติ
โดยมีจุดมุ่งหมายให้ผู้คลอดคลอดทางช่องคลอด
ข้อบ่งชี้
ทางด้านสูติกรรม
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ (PIH)
ภาวะครรภ์เกินกำหนด
ทารกเสียชีวิตในครรภ์ (DFIU)
PROM ในรายที่อายุครรภ์มากกว่า 34 wks.
การติดเชื้อของถุงน้ำคร่ำ (choroamnionitis)
ภาวะเลือดออกก่อนคลอดจากภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด (abruptio placenta)
ทารกพิการแต่กำเนิดในครรภ์ที่ไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้
ทารกเจริญเติบโตช้า (IUGR)
ภาวะน้ำคร่ำน้อย (oligohydramnios)
ทารกบวมน้ำ (hydrops fetalis)
ทางอายุรกรรม
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคเบาหวาน
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคไตเรื้อรัง
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงเรื้อรัง
ข้อห้าม
ภาวะรกเกาะต่ำ (Placenta previa)
ภาวะที่มีเส้นเลือดทอดต่ำหรือผ่านปากมดลูก (vasa previa)
ทารกท่าขวาง CPD
Previous c/s
เนื้องอกที่ขัดขวางช่องทางคลอด
Prolapsed cord
Fetal distress
Twins
วิธีการชักนำการคลอดที่นิยม
Medical
นิยมใช้
Prostaglandin นิยมใช้ E1W และ E2
Oxytocin นิยมใช้ Augmentation
ตัวอย่างข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มารดามีโอกาสเกิดภาวะ Tetanic contraction เนื่องจากการได้รับสารละลาย Oxytocin
มารดามีโอกาสเกิดความล้มเหลวใน
การชักนำการคลอดด้วย Oxytocin
ทารกในครรภ์มีโอกาสเกิดภาวะ Fetal distress เนื่องจากการได้รับสารละลาย Oxytocin
การพยาบาลผู้คลอดที่ได้รับการชักนำการคลอดโดยใช้ยา Oxytocin
เตรียมสารละลายออกซิโตซิน
ตามแผนการรักษา
เตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ในการให้
สารละลายทางหลอดเลือดดำ
ช่วยแพทย์ในการให้สารละลาย
ออกซิโตซินทางหลอดเลือดดำ
สังเกตลักษณะการหดรัดตัวของมดลูก I < 2 นาที D > 60 วินาที ปฏิบัติดังนี้
หยุดการให้ออกซิโตซินทางหลอดเลือดดำ
ให้ผู้คลอดนอนตะแคง
ให้ออกซิเจน 6-8 ลิตร/นาที
รายงานแพทย์
ปรับหยดสารละลายออกซิโตซิน เริ่มต้น 5-10 หยด/นาที เพิ่ม 5 หยดทุก 30 นาที
ตรวจสอบการหยดของ
ออกซิโตซิน ทุก 30 นาที
สังเกตสภาวะของทารกในครรภ์ โดยฟังเสียงหัวใจทารกเป็นระยะๆ ทุก 15-30 นาที หาก
ทารกในครรภ์มีภาวะ Fetal distress ต้องหยุดให้ออกซิโตซินทันทีและรายงานแพทย
การช่วยเหลือการคลอด
พิจารณาการเปิดของปากมดลูกหากปากมดลูกเปิดหมดอาจเตรียมการคลอดด้วยคีม (F/E)
ปากมดลูกเปิดน้อยอาจเตรียมผู้คลอดเพื่อผ่าตัดเอาทารก
ออกทางหน้าท้อง
การช่วยเหลือทารกในครรภ์
ให้ผู้คลอดนอนตะแคง
ให้ I.V Fluid
ให้ O2 6-8 ลิตร/นาที
On EFM
ดูแลสภาวะทั่วไปของมารดาโดย Check BP, P, R เป็นระยะๆ
บันทึกเกี่ยวกับ
ลักษณะการหดรัดตัวของมดลูกทุก 15-30 นาที
ขนาดและจำนวนของออกซิโตซินที่ได้รับทุก 30 นาที
จำนวนของหยดของออกซิโตซินที่ปรับขึ้นหรือลดลง
สัญญาณชีพทุก 2-4 ชม. และเสียงหัวใจทารก 15-30 นาที
Record I/O
ดูแลผู้คลอดให้ได้รับความสุขสบายทั้งร่างกายและจิตใจ
รับฟังและสอบถามปัญหาของผู้คลอด
จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับกระบวน
การชักนำการคลอด, การคลอด
ช่วยดูแลการทำกิจวัตรประจำวัน
Surgical
การเจาะถุงน้ำทุนหัว (Amniotomy, Artificial rupture of membrance)
นิยมใช้
นิยมใช้เมื่อปากมดลูกนุ่มแล้วหรือในรายที่ทำเป็น Augmentation
เมื่อการดำเนินการคลอดล่าช้า หรือใช้ร่วมกับการใช้ Oxtocin
สิ่งที่ควรระมัดระวังคือ
การ Engaged ของส่วนนำศีรษะเด็ก
เพราะหากไม่มีการ engagement
อาจทำให้มีภาวะ prolapse cord เกิดขึ้นได้
การพยาบาลผู้คลอดที่ได้รับการชักนำการคลอดโดยการเจาะถุงน้ำทูนหัว
เตรียมเครื่องมือ
เครื่องมือเจาะถุงน้ า Amniotomy Forceps หรือ Tenaculum หรือ Kockers Forceps
หม้อนอน (Bed pan)
Set Flush
ถุงมือ Sterile
เตรียมผู้คลอด
เตรียมจิตใจ อธิบายให้เข้าใจถึงแผนการรักษา
เตรียมร่างกาย
กั้นม่านไม่เปิดเผย
(expose) ผู้คลอด
จัดท า dorsal Recombent ปิดตาและ drape ผ้าให้เรียบร้อย
ทำความสะอาดอวัยวะ
สืบพันธุ์ภายนอก
ก่อนแพทย์ลงมือทำ พยาบาลต้องฟังเสียงหัวใจทารก แลบันทึกไว้
เมื่อน้ำคร่ำไหลออกมาต้องบันทึกเกี่ยวกับลักษณะสี และจำนวนของ Amniotic Fluid
Thick meconium stain
Moderate meconium stain
Mild meconium stain
Amniotic Fluid clear
ฟังเสียงหัวทารกทันทีภายหลัง
เจาะถุงน้ำทูนหัว
Flushing และใส่ผ้าอนามัย
ให้ผู้คลอดนอนพักบนเตียง ไม่ควรให้ลุกเดินไปมา
บันทึกเกี่ยวกับ Interval, Duration ผลการตรวจความก้าวหน้าของการคลอด
บันทึก FHS เป็นระยะๆ อาจทุก 15-30 นาที หากผิดปกติรายงานแพทย์และให้การช่วยเหลือ
บันทึก T, P, R, BP หากมีไข้รายงานแพทย์
เปลี่ยนผ้าอนามัยทุกครั้งที่น้ าหล่อเด็กเปียกชุ่มพร้อม Flushing ให้
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อหญิงตั้งครรภ์
ภาวะมดลูกแตกจาการได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกโดยเฉพาะรายที่เคยผ่าตัดมาก่อนหรือมีภาวะ CPD
การตกเลือดก่อนคลอดจากรกลอกตัวก่อนกำหนด
การตกเลือดจากการฉีกขาดของช่องทางคลอดจากการคลอดเร็วเกินไป (precipitate labor)
การติดเชื้อของเยื่อบุถุงน้ำคร่ำ
เกิดการอุดตันในกระแสเลือดจากน้ำคร่ำ
ต่อทารก
ทารกคลอดก่อนกำหนด
ภาวะทารกอยู่ในภาวะคับขัน (fetal distress)
ภาวะสายสะดือย้อย
การเจาะถูกเส้นเลือดที่ทอดอยู่บนถุงน้ำบริเวณที่เจาะ (vasa previa)
ทารกที่คลอดก่อนกำหนดมีอุบัติการเลือดออกในสมองสูง
การติดเชื้อจากการเจาะถุงน้ำและมีการติดเชื้อของถุงน้ำคร่ำ
การผ่าตัดนำทารกออกทางหน้าท้อง (Cesarean Section)
ความหมาย
การทำผ่าตัดเพื่อนำทารกออกจากมดลูก โดยผ่านทางหน้าท้อง ทารกต้องมีน้ำหนักตัวไม่ต่ำกว่า 1,000 กรัม
มีสองชนิด
Classic cesarean
lower – segment cesarean
ข้อบ่งชี้
CPD
ท่าผิดปกติ เช่น ท่าขวาง
Total placenta previa
มะเร็งปากมดลูก
ข้อบ่งชี้ร่วม
Previous C/S
Ante partum hemorrhage
Fetal distress
ภาวะแทรกซ้อนทางสูติกรรม
ยาระงับความรู้สึก
Spenal block
Epidural block
GA
การพยาบาลมารดาที่ผ่าตัดเอาเด็กออกทางหน้าท้อง
การพยาบาลก่อนการผ่าตัด
วัตถุประสงค์
เพื่อเตรียมสภาพร่างกายของมารดาให้พร้อมที่จะผ่าตัดเด็กออกทางหน้าท้อง
เพื่อประคับประคองสภาวะจิตสังคมของมารดาและครอบครัวให้พร้อมที่จะรับการผ่าตัดเอาเด็กออกทางหน้าท้อง
สิ่งสำคัญที่พยาบาลต้องคำนึงถึงอย่างมากคือ
มารดาเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
1.1 อธิบายถึงขั้นตอนต่างๆ ในการเตรียมร่างกายของมารดา
1.2 เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ในการเตรียมผ่าตัดให้พร้อม
เครื่องมือเตรียมความสะอาดผิดหนัง
ชุดสวนคาสายปัสสาวะ
(Foley’s catheter)
ชุดให้สารน้ำทางเส้นเลือดตามคำสั่งการรักษาของแพทย์ ชุดให้เลือด
ชุดสวนอุจจาระ
เสื้อสำหรับมารดาใส่ไปห้องผ่าตัด ป้ายข้อมือมารดา
ผ้าห่มทารก
1.3 ดูแลให้มารดางดน้ำและอาหารทางปาก ก่อนผ่าตัดประมาณ 6 – 8 ชม.
1.4 ตัดเตรียมความสะอาดบริเวณผิวหนัง
1.5 ทำการสวนคาสายปัสสาวะ
1.6 ดูแลให้มารดาได้รับสารน้ำและยาก่อนการผ่าตัดตามแผนการักษา
1.7 เจาะเลือดส่งห้องปฏิบัติการ
1.8 ส่งปัสสาวะตรวจและส่งเลือดตรวจหา CBC และค่าทางชีวะเคมี
1.9 ตรวจนับสัญญาณชีพ (Vital signs)
และเสียงหัวใจทารกเป็นระยะ ๆ
1.10 ดูแลให้มารดาถอดฟันปลอม คอนเทคเลนซ์ แหวน ล้างเล็บออก
1.11 เขียนบันทึกรายงานของมารดาในฟอร์มปรอทให้เรียบร้อย
1.12 เตรียมชุดให้เลือด ผ้าห่อทารก ให้พร้อมที่จะส่งไปห้องผ่าตัดพร้อมมารดา
1.13 ให้เวลาแก่มารดาเพื่อตอบข้อข้องใจและให้ข้อมูลแก่มารดาและครอบครัวมาก
ที่สุดเท่าที่จะมากได้
การเตรียมความพร้อมทางด้านจิตใจของมารดา
ขั้นตอนในการเตรียมผ่าตัด
ลักษณะของห้องผ่าตัด
ชนิดของการใช้ยาระงับความรู้สึก
ความรู้สึกขณะผ่าตัด
บทบาทของผู้ใกล้ชิด
การสร้างสัมพันธภาพกับทารก
ระยะหลังผ่าตัดทันที
ระยะหลังคลอด
การพยาบาลมารดาในระยะที่ย้ายมาอยู่หน่วยหลังคลอด
มีจุดประสงค์
เพื่อช่วยให้มารดาฟื้นฟูสมรรถภาพภายหลังคลอดได้ดีขึ้น
เพื่อปูองกันและลดอัตราการอักเสบ ติดเชื้อ
เพื่อปูองกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้
เพื่อส่งเสริมให้มารดฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจดี
ช่วยให้มารดาเกิดความรู้สึกสามารถควบคุมและช่วยเหลือตนเองได้
เพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพของมารดา บิดา ทารก
การพยาบาลด้านร่างกาย
ประเมินสภาวะของมารดาหลังผ่าตัด (Assessment)
ประเมินการหายของแผล
การติดเชื้อ
ปริมาณสารอาหารและน้ำ
หน้าที่ของกระเพาะปัสสาวะและลำไส้
หน้าที่ของระบบการหายใจ
ทักษะในการเลี้ยงดูทารกของมารดา
ความคิดเห็นของมารดาและครอบครัวต่อการผ่าตัดครั้งนี้
ในระยะนี้ต้องระวังเกิดภาวะแทรกซ้อน
สังเกตอาการของการติดเชื้อบริเวณแผลผ่าตัด
ดูแลให้มารดาได้รับยาปฏิชีวนะ
ตรวจนับสัญญาณชีพ
พยาบาลจำเป็นต้องสังเกตอาการผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นได้
สังเกตและจดบันทึกปริมาณ ลักษณะสี ความขุ่น ใส ของปัสสาวะ
ตรวจฟังเสียงการทำงานของลำไส้ (Bowel sound) และกระตุ้นให้มารดามี carly ambulation
พยาบาลต้องระวังและคอยสังเกตอาการต่างๆ
ตลอดจนให้ความสนใจในการทบทวนหรือสอนวิธีไอ
ให้ข้อมูลแก่มารดาถึงสาเหตุของการเจ็บปวด
ช่วยเหลือให้มารดาได้รับความสุขสบายให้มากที่สุด
การพยาบาลด้านจิตใจ
1 อธิบายให้มารดาทราบถึงความต้องการของหญิงคลอด
2 สอนมารดาถึงวิธีปฏิบัติตน
3 กระตุ้นให้มารดาได้พูดถึงความรู้สึกต่างๆ
4 อธิบายหรือชี้ประเด็นให้มารดามองเห็นถึงข้อดีต่างๆ
5 นำทารกให้มารดาและบิดาดูโดยเร็วที่สุด
6 ให้มารดาได้มีโอกาสสัมผัส
โอบกอดทารกและสำรวจทารก
7 กระตุ้นให้มารดาดูแลทารกด้วนตนเอง
8 ควรให้คำชมเชยแก่มารดาในขณะที่ดูแลทารก
น.ส.ปณัฐฐา วงภักดี
รหัส 602701055 เลขที่ 55