Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย - Coggle Diagram
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
ความหมายของกฎหมาย
ระเบียบ กฎเกณฑ์ข้อบังคับ ที่รัฐหรือผู้มีอำนาจกำหนดขึ้น
เพื่อควบคุมความประพฤติ
/พฤติกรรมของมนุษย์
หากผู้ใดฝ่า
ฝืนย่อมต้องได้รับโทษตามที่กฎหมายกำหนด
ลักษณะและประเภทของกฎหมาย
ลักษณะของกฎหมาย
กฎหมายต้องมีลักษณะเป็นกฎเกณฑ์
กฎหมายต้องเป็นข้อบังคับที่เป็น
มาตรฐานที่ใช้วัดหรือกำหนด ความประพฤติของคนในสังคมว่าถูกหรือผิด ทำได้หรือไม่ได้
กฎหมายต้องกำหนดขึ้นโดยรัฐหรือผู้มีอำนาจ
รัฐสภา รัฐบาล องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นต้น
กฎหมายต้องบังคับใช้โดยทั่วไป
บุคคลทุกคนต้องอยู่ภายใต้
กฎหมายโดยเสมอภาค จะมีใครอยู่เหนือกฎหมายไม่ได
แต่อาจมีข้อยกเว้นในบางกรณี
กรณีของฑูตต่างประเทศซึ่งเข้ามาประจำใน
ประเทศไทยอาจได้รับการยกเว้นไม่ต้องอยู่ภายใต้กฎหมายภาษีอากร
กฎหมายต้องมีสภาพบังคับ
ต้องมีสภาพบังคับในกรณีที่มีการผ่าฝืนกฎหมาย
สภาพบังคับนั้นมีทั้งผลร้ายและผลดี
โทษทางอาญา
ประหารชีวิต
จำคุก
กักขัง
ปรับ
ผลดี
กรณีจดทะเบียนสมรส
ทำให้บุตรเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย สามารถใช้สิทธิของคู่สมรสไปลดหย่อนภาษีได้
ระบบของกฎหมาย
ระบบกฎหมายจารีตประเพณี หรือระบบกฎหมายไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
ระบบกฎหมายลายลักษณ์อักษร หรือระบบประมวลกฎหมาย
ประเภทของกฎหมาย
กฎหมายที่แบ่งตามสิทธิประโยชน์ และความสัมพันธ์ของบุคคล
กฎหมายมหาชน (Public Law)
กฎหมายรัฐธรรมนูญ
กฎหมายปกครอง
กฎหมายอาญา
ธรรมนูญศาลยุติธรรม
กฎหมายเอกชน (Private Law)
กฎหมายแพ่ง
กฎหมายพาณิชย์
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
กฎหมายระหว่างประเทศ (International Law)
แผนกคดีเมือง
แผนกคดีบุคคล
แผนกคดีอาญา
ลำดับชั้นหรือศักดิ์ของกฎหมาย
พระราชกฤษฎีกา
กฎกระทรวง
ระเบียบ และข้อบังคับ
พระราชบัญญัติ พระราชกำหนด และประมวลกฎหมาย
รัฐธรรมนูญ
อื่นๆ
ข้อบังคับท้องถิ่น
ประกาศและคำสั่ง
ลักษณะของระบบศาลไทย
ระบบศาลเดี่ยว
เป็นระบบที่ให้ศาลยุติธรรมมีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาททุกประเภท
กลุ่มประเทศที่ใช้ระบบกฎหมายจารีตประเพณี
สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา
ระบบศาลคู่
ศาลยุติธรรมมีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาทเฉพาะคดีแพ่งและคดีอาญา
เท่านั้น
ฝรั่งเศส
เบลเยี่ยม เยอรมัน
ระบบศาลของประเทศไทย
มีผู้พิพากษาหรือตุลาการของแต่ละ
ศาลโดยเฉพาะ
ระบบศาลคู่
ศาลของประเทศไทย
ศาลรัฐธรรมนูญ
วินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
กับรัฐธรรมนูญ
ศาลยุติธรรม
พิพากษาคดีทั้งปวง
3 ชั้น
ศาลชั้นต้น
ศาลอุทธรณ์
ศาลฎีกา
ศาลปกครอง
มีอำนาจหน้าที่ในการพิจารณา
พิพากษาคดีในทางปกครอง
2 ชั้น
ศาลปกครองชั้นต้น
ศาล
ปกครองสูงสุด
ศาลทหาร
ชำระความที่เกี่ยวกับทหารและยังชำระความ
พลเรือนด้วย