Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะมดลูกแตก (Uterine Rupture) - Coggle Diagram
ภาวะมดลูกแตก
(Uterine Rupture)
การฉีกขาด การแยก การแตก หรือการทะลุของมดลูกขณะตั้งครรภ์ ขณะเจ็บครรภ์คลอด หรือขณะคลอด หลังจากที่ทารกโตพอที่จะมีชีวิตอยู่ได้ หรือหลังจากอายุครรภ์ ๒๘ สัปดาห์
อุบัติการณ์
อัตราการเกิดภาวะมดลูกแตกพบประมาณ ๑:๑๐๐ ถึง ๑:๑,๐๐๐ ของการคลอดทั้งหมด
สาเหตุ
มดลูกแตกเอง
การตั้งครรภ์เมื่ออายุมาก
หญิงตั้งครรภ์หลัง
ผู้คลอดได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
CPD
ท่าและส่วนนำผิดปกติ
Hydrocephalus
Twin
Polyhydramnios
มดลูกแตกจากการได้รับการกระทบกระเทือน
อุบัติเหตุในขณะตั้งครรภ์
การหมุนกลับเด็กภายใน
การหมุนกลับเด็กภายนอก
การทำคลอดด้วยคีมที่ยาก
การทำคลอดท่าก้น
การดันมดลูกอย่างแรงช่วยคลอด
การล้วงรกกรณีที่เกาะลึกและการขูดมดลูก
มดลูกแตกจากรอยแผลเดิม
เคยเคยผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
ส่วนใหญ่พบในแผลชนิด classical type
การแตกส่วนใหญ่มักเกิดไตรมาสที่ 3
ชนิดของมดลูกแตกแบ่งออกเป็น 2 ชนิด
complete uterine ruptured
การฉีกขาดของมดลูกทั้ง 3 ชั้นของผนังมดลูก
ส่วนใหญ่จะพบว่าทารกมีสภาพเสียชีวิต
incomplete uterine ruptured
การฉีกขาดของมดลูกชั้น
endometrium ,myometrium แต่ไม่ทะลุชั้น peritoneum
ทารกยังคงอยู่ภายในโพรงมดลูก และส่วนมากมักมีชีวิตอยู่
พยาธิสภาพ
การแตกของมดลูกในระยะคลอด มักเกิดบริเวณ Lower uterine segment
จากการที่มดลูกหดรัดตัวถี่และรุนแรงในขณะตั้งครรภ์และเจ็บครรภ์คลอด กล้ามเนื้อมดลูกส่วนล่างถูกดึงให้บางและยืดออก
การที่มดลูกส่วนล่างยืดขยายออกและบางมากจนกระทั่งเห็นมดลูกเป็น
สองลอนทางหน้าท้อง เรียกว่า pathological retraction ring หรือ Bandl’s ring
ส่วนทารกในครรภ์อาจมีภาวะขาดออกซิเจนเนื่องจากปริมาณเลือดมารดาไปสู่รกลดลงเพราะมดลูกหดรดตัวรุนแรงมาก ต่อจากนั้นถ้าไม่ได้รับ การช่วยเหลือมดลูกจะแตก
อาการและอาการแสดง
ก่อนมดลูกแตก
เจ็บปวดบริเวณท้องน้อยอย่างรุนแรง
กระสับกระส่าย PR เบาเร็ว RR ไม่สม่ำเสมอ
การคลอดไม่ก้าวหน้า
มองเห็นหน้าท้องเป็นสองลอนสูงขึ้นเกือบถึงระดับสะดือ (Bandl’s ring)
tetanic contraction
ทารกในครรภ์เกิด fetal distress อาจพบ FHS ไม่สม่ำเสมอ
อาจมีเลือดออกทางช่องคลอด
เมื่อมดลูกแตกแล้ว
เจ็บปวดบริเวณมดลูกส่วนล่างอย่างรุนแรง
คลำพบส่วนของทารกชัดเจนขึ้น
ถ้ามดลูกแตกขณะเจ็บครรภ์ อาการเจ็บครรภ์จะหายไปทันท
อาจพบว่ามีเลือดออกทางช่องคลอดจำนวนเล็กน้อย
ท้องโป่งตึงและปวดท้องอย่างรุนแรง
FHS เปลี่ยนแปลง
PV พบส่วนนำลอยอยู่สูงขึ้นจากเดิม
มีภาวะ Hypovolemic shock
ผู้คลอดจะเจ็บบริเวณหน้าอก ร้าวไปถึงไหปลาร้า
ผลกระทบ
ต่อผู้คลอด
ดอาจมีอาการแสดงของการเสียเลือดจนช็อก
เจ็บบริเวณท้องมาก
อาจเกิดภาวะเยื่อบุช่องท้อง
อักเสบ
ความวิตกกังวล
ต่อทารก
ขาดออกซิเจนอย่างรุนแรง
ได้รับบาดเจ็บจากการคลอดฉุกเฉิน
อาจเสียชีวิตได้
การพยาบาล
การพยาบาลเมื่อเกิดภาวะมดลูกแตกควรปฏิบัติดังนี้
NPO ดูแลให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ติดตามและ
รายงานสูติแพทย์ทราบ
ประเมินสัญญาณชีพและเสียงหัวใจทารกทุก 5 นาที
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนร้อยละ 100
ประเมินเลือดที่ออกทางช่องคลอด
ประเมินอาการและอาการแสดงของการตกเลือดและอาการแสดงของภาวะช็อก
ดูแลให้ได้รับเลือดทดแทนตามแผนการรักษา
เตรียมผู้คลอดให้พร้อมสำหรับการผ่าตัดคลอด
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
เฝ้าระวังภาวะตกเลือด
ปลอบโยนให้กำลังใจผู้คลอดและครอบครัว
การรักษา
ถ้ามีภาวะช็อค ให้ Ringer’s lactate solution เตรียมเลือดให้พร้อมและให้ออกซิเจน
เตรียมผู้คลอดเพื่อท าผ่าตัดและตามกุมารแพทย์เพื่อช่วยฟื้นคืนชีพทารก
ให้เลือดและยาปฏิชีวนะ
ในกรณีที่ทารกเสียชีวิต ต้องให้การดูแลสุขภาพจิตของผู้คลอดและครอบครัว