Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาที่มีปัญหาสุขภาพในระยะหลังคลอด,…
บทที่ 8 การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาที่มีปัญหาสุขภาพในระยะหลังคลอด
• การติดเชื้อหลังคลอด
• Subinvolution
• Endometritis
• Parametritis
• Peritonitis
• Wound infection
• Pelvic thrombophlebitis
• Breast abscess
ความหมาย
การอักเสบติดเชื้อ ภายหลังจากการคลอดทางช่องคลอด หรือการผ่าตัดคลอดส่วนมากเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ผู้ป่วยมักมีไข้ สูงตั้งแต่ 38 องศาเซลเซียสขึ้นไปหลังจาก 24 ชั่วโมงของการคลอดบุตร จนถึงประมาณ 10 วันหลังคลอด
• การคั่งของเลือดที่แผลฝีเย็บ
• ภาวะผิดปกติด้านจิตใจหลังคลอด
มดลูกไม่เข้าอู่(Subinvolution of Uterus)
สาเหตุ
• ภาวะต่างๆ ที่ททำให้การหดรัดตัวของมดลูกไม่ดี ได้แก่ มีเศษรกหรือหุ้มเยื่อทารกค้างในมดลูก มีก้อนเนื้องอกของมดลูก ต้งงครรภ์หลายครั้งทารกตัวโตกระเพาะปัสสาวเต็ม
• การผ่าตัดคลอดเอาทารกออกทางหน้าท้อง
• ทารกไม่ได้ดูดนมแม
• มีการติดเชื้อของมดลูก (Endometritis)
• มดลูกคว่ำหน้ามากหรือคว่ำหลังมาก
อาการและอาการแสดง
• น้ำคาวปลาไม่จางลง
• น้ำคาวปลาที่จางลงเปลี่ยนเป็นสีแดง
• ระดับยอดมดลูกไม่ลดลง
• ปวดมดลูกและมีไข้
• เหนื่อยอ่อนเพลีย
การรักษา
• ให้ยา Oxytocin
• Dilatation and Curettage
• Antibiotic in endometritis
การพยาบาล
• ประเมิน daily HF, lochia, อาการปวด
มดลูก
• Early ambulation postpartum
• ติดตาม vital signs
เยื่อบุมดลูกอักเสบ (Endometritis)
อาการและอาการแสดง
• มีน้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น
• น้ำคาวปลาไม่เปลี่ยนสี จะมีสีน้ำตาลแดง อาจมีเยื่อหุ้มรกออกมา
• มดลูกมีขนาดใหญ่คลำได้ทางหน้าท้อง มีลักษณะนุ่ม กดเจ็บ
• 3 หลังคลอดมีไข้ ไม่เกิน 38.8องศาเซลเซียส
• ชีพจร 90-120 ครั้งต่อนาที อาจมีอาการปวดศีรษะ อ่อนเพลีย
• WBC > 20,000/mm3 และมีการเพิ่มขึ้นของ neutrophil
การักษา
• การรักษาตามอาการ
• ร่วมกับการให้ยาปฏิชีวนะ ที่ครอบคลุมเชื ้อที่สงสัย
อุ้งเชิงกรานอักเสบ (Parametritis)
• ติดเชื้อที่ปากมดลูกหรือมดลูก ลามไปทางหลอดน้ำเหลือง ทำให้เกิดเยื่อบุช่องท้องอักเสบเป็นหนองในอุ้งเชิงกราน
• ไข้ 38.9-40 องศาเซลเซียส ร่วมกับ tachycardia
• มดลูกโตขึ้น กดเจ็บที่มดลูกส่วนล่างข้างเดียวหรือสองข้าง
• ตำแหน่งมดลูกจะ fix จากหนองที่เกิดขึ้นตาม round ligament
การรักษา
การรักษาตามอาการ
ร่วมกับการให้ยาปฏิชีวนะ ที่ครอบคลุมเชื้อที่สงสัย
ถ้ามีฝีหรือหนองต้องระบายออก
เยื่อบุช่องท้องอักเสบ (Peritonitis)
• เชื้อเข้าทางช่องคลอดผ่านปากมดลูก เข้ามดลูก ปีกมดลูก
กระจายเข้าเยื่อบุช่องท้อง
• ปวดท้องหรือสัมผัสท้องแล้วปวด บางรายไม่ชัดเจนเนื่องจากผนังหน้าท้องจะมีความหย่อนตัวในช่วงหลังคลอด
• ท้องอืดหรือแน่นท้อง
• ไข้
• คลื่่นไส้และอาเจียน
• เบื่ออาหาร
การรักษา
• การให้ยาปฏิชีวนะที่ครอบคลุมทั้ง aerobes และ
anaerobes
• ถ้าเป็นรุนแรงจากแผลมดลูกเน่าและแยก หรือมีการ
แตกทะลุของลำไส้ จะต้องได้รับการผ่าตัดเร่งด่วน
การติดเชื้อที่แผลฝีเย็บ
Episiotomy infection
• การติดเชื้อสัมพันธ์กับการแยกของแผล
• ปัจจัยส่งเสริมให้เกิดแผลแยกอื่นๆ เช่น ความผิดปกติของระบบ
การแข็งตัวของเลือด การสูบบุหรี่ การติดเชื ้อ HPV
• มีอาการปวดเฉพาะที่ที่แผล ปัสสาวะลำบาก อาจมีปัสสาวะคั่งหรือไม่ก็ได้
• มีไข้ มักจะเป็นไข้ต่ำๆ
• ลักษณะของแผลติดเชื้อ เริ่มจากขอบแผลบวม เปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลแดง ไหมที่เย็บอาจขาดหลุดออกมา จนทำให้เกิดการแยกของ
แผล มีหนองตามมา
การรักษา
• ขจัดเนื้อตายและเปิดระบายหนองร่วมกับให้ยาปฏิชีวนะ
• ในรายที่มีลักษณะแผลอักเสบแต่ยังไม่มีหนองสามารถให้ยาปฏิชีวนะอย่างเดียว
• การดูแลแผลให้ sitz bath บ่อยๆทุกวัน
• ให้ยาแก้ปวด
การติดเชื้อที่แผลแผลผ่าตัด
(Abdominal incisional infections)
• ปัจจัยเสี่ยง เช่น DM, HT, Obesity ect.
• เริ่มแสดงอาการไข้ตั้งแต่ 4 วันหลังผ่าตัด หรือในบางราย อาจพบว่ายังมีไข้ต่อเนื่องในขณะได้รับยาปฏิชีวนะ
• บริเวณแผลจะแดงและมีหนอง
การดูแลรักษา
• การให้ยาปฏิชีวนะ ร่วมกับการผ่าตัดระบายหนอง
• ทำแผลแบบเปียก (wet dressing) 2 ครั้งต่อวัน
• เริ่มมีการสร้างเนื้อเยื่อใหม่ 4-6 วัน แล้วจึงเย็บปิดแผล ด้วยไหม
นางสาวรัตนาภรณ์ ใจอ่อน รหัสนักศึกษา 602701077 ชั้นปีที่ 4 รุ่น 35