Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาทางจิตสังคม แก่วัยเด็ก วัยรุ่น…
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาทางจิตสังคม
แก่วัยเด็ก วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ และวัยผู้สูงอายุ
1.การขาดที่พึ่ง
(Homeless)
ความหมาย
บุคคลไร้ที่อยู่อาศัยและไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพ
บุคคลที่อยู่ในสภาวะยากลำบาก และไม่อาจพึ่งพาบุคคลอื่นได้
พระราชบัญญัติการคุ้มครอง
คนไร้ที่พึ่ง พ.ศ. 2557
คนไร้ที่พึ่งนั้นมีอยู่ 5 ประเภท
1.บุคคลที่ประสบความเดือดร้อนอยู่ในภาวะยากลำบาก
3.บุคคลซึ่งอาศัยที่สาธารณะเป็นที่พักนอนชั่วคราว
4.บุคคลที่มีสถานะทางทะเบียนราษฎรแต่ไร้สัญชาติ
5.บุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียนราษฎร
2.คนเร่ร่อน
กำหนดให้มีสถานคุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง และศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง และสถานคุ้มครองคนไร้ที่พึ่งและศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่งมีหน้าที่จัดให้มีที่พักอาศัย อาหาร และเครื่องนุ่งห่มที่เหมาะสมและถูกสุขลักษณะ(มาตรา 14)
ปัญหาสุขภาพของตนไร้ที่พึง
ปัญหาปัจจัย4
ปัญหาสุขภาพ
มีปัญหาสุขภาพจิต
การเข้าถึงระบบสุขภาพ
การดูแลบุคคลไร้ที่พึ่ง
ให้ข้อมูลที่จำเป็น
บอกว่ามีพ.ร.บ.คุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง
แจ้ง 1300 สายด่วนศูนย์ช่วยเหลือสังคม
ให้ความช่วยเหลือตามที่ช่วยได้
อาหาร ยา เสื้อผ้า
การดูแลผู้ป่วยจิตเวชไร้ที่พึ่ง
แจ้งหน่วยงานปกครอง/แจ้งตำรวจ
แจ้ง 1667 สายด่วนสุขภาพจิต
แจ้ง 1300 สายด่วนศูนย์ช่วยเหลือสังคม
การดูแลด้านจิตใจ
การดูแลบำบัดรักษาในรายที่มีความเจ็บป่วยทางจิต
การฝึกการเข้าสังคม
การดูแลด้านร่งกาย
สุขอนามัย
การตรวจสุขภาพ
การดูแลโรคทางกาย
2.ความโกรธ
(Anger)
ความหมาย
เป็นอารมณ์ธรรมชาติของมนุษย์ที่เกิดจากความหงุดหงิดง่าย
นำไปสู่ความรู้สึกที่ไม่พอใจหรืออารมณ์รุนแรง
เป็นแรงผลักดันด้านบวกให้บุคคลตัดสินใจและเป็นการเตรียมความพร้อมในการป้องกันตนเอง
สาเหตุของความโกรธ
ปัจจัยทางด้านชีวภาพ
(Biological factor)
สารสื่อประสาท(HT5, DA, NE)
บาดเจ็บที่สมอง
เนื้องอกที่สมอง
น้ำตาลในเลือดต่ำ
สมองเสื่อม
ปัจจัยทางด้านจิตสังคม
(Psychosocial)
ทฤษฏีพฤติกรรมศาสตร์ (Skinner)
ทฤษฏีการเรียนรู้ของสังคม (Bandura)
ทฤษฏีทางปัญญา (Beck)
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (Freud)
พฤติกรรมตอบโต้ต่อภาวะโกรธ
Aggressive behavior
จะแสดงความโกรธออกมาอย่างไม่เหมาะสม เป็นพฤติกรรมเชิงทำลาย
Assertive behavior
แสดงความโกรธออกมาเป็นพฤติกรรมเชิงสร้างสรรค์
Passive behavior
เมื่อมีความโกรธจะพยายามเก็บกด
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความรู้สึกโกรธ
พฤติกรรมก้าวร้าว/รุนแรง
สร้างสัมพันธภาพด้วยท่าทีที่เป็นมิตร สงบ มั่นคง ใช้คำพูดที่ชัดเจน กระชับ ตรงไปตรงมา
เปิดโอกาสให้ระบายความความรู้สึก
ส่งเสริมให้ผู้รับบริการวางแผนหาวิธีระบายความโกรธของตนออกมาอย่างเหมาะสม
แนะนำวิธีการจัดการกับความโกรธเพื่อไม่ให้เกิดพฤติกรรมก้าวร้าว
หากก้าวร้าวรุนแรง ควบคุมตนเองได้น้อยพิจารณาเรียกทีม จำกัดพฤติกรรมห้องแยก ผูกมัด และให้ยา
3.ภาวะวิกฤตทางอารมณ์
(Emotion crisis)
ประเภทของภาวะวิกฤต
1.วิกฤตการณ์ที่เกิดขึ้นในกระบวนการพัฒนาการ (Developmental or Maturational Crisis)
วิกฤตการณ์ที่เกิดอย่างไม่คาดฝัน
(Situational Crisis)
วิกฤตการณ์ที่เกิดจากภัยพิบัติ
(Disaster Crisis)
3.1 ภัยพิบัติจากธรรมชาติ (Natural Disaster)
3.2 ภัยพิบัติจากมนุษย์ (Man made Disaster)
องค์ประกอบในการปรับตัวต่อภาวะวิกฤต
การรับรู้ต่อเหตุการณ์
กลไกในการปรับตัวเผชิญปัญหา การเรียนรู้และประสบการณ์ต่าง ๆ
การได้รับความช่วยเหลือสนับสนุน ให้คำแนะนำปรึกษาหรือระบายความรู้สึกในปัญหาที่ไม่สามารถแก้ได้
บุคลิกภาพที่เข้มแข็ง (strong ego) เป็นบุคคลที่มองโลกในแง่ดี ใจเย็นและมีสติ
กิจกรรมกาพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดเพื่อให้ผู้รับบริการรู้สึกไว้วางใจ
กระตุ้นให้ผู้รับบริการพูดถึงความรู้สึกที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
ช่วยค้นหา social support
อธิบายให้ผู้รับบริการฟังว่าอารมณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น เช่นความรู้สึกผิดโกรธ เศร้า เกิดขึ้นได้เมื่อเกิดภาวะวิกฤตทางอารมณ์ เพราะการรู้จะทำให้อาการบรรเทาลงได้
4.จิตเวชชุมชน
(community Psychiaty)
องค์ประกอบสำคัญ
ทีมสหวิชาชีพ
ผู้ป่วย/ครอบครัว
ชุมชน
ลักษณะเฉพาะของจิตเวชชุมชน
ลักษณะการบริการเป็นแบบต่อเนื่องและสมบูรณ์ สอดคล้องตามวิถีชีวิต
มีวัตถุประสงค์เฉพาะเพื่อส่งเสริมสุขภาพจิต ป้องกันปัญหาทางจิต บำบัดรักษาดูแลช่วยเหลือ และฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยจิตเวชในชุมชนประชากรผู้ที่สุขภาพจิตดี มีแนวโน้ม/ภาวะเสี่ยง และเจ็บป่วยทางจิต
เน้นการป้องกัน 3ระดับ
Primary prevention พยายามลดปัจจัยที่ทำให้เกิดความผิดปกติทางจิต
Secondary prevention พยายามค้นหา วินิจฉัยและรักษาผู้ป่วยให้เร็วที่สุด เพื่อลดระยะเวลาการป่วย
Tertiary prevention ป้องกันโรคแทรกซ้อนในระยะยาว ฟื้นฟูและติดตาม
การพยาบาลจิตเวชชุมชน
ส่งเสริมสุขภาพจิตในชุมชนตามช่วงวัยที่อาจมีความเสี่ยง
การคัดกรองปัญหาสุขภาพจิต
ดูแลให้ยาต่อเนื่อง ลดปัจจัยกระตุ้น
ใช้ยาในขนาดเดิมที่ผู้ป่วยมีอาการดีขึ้น
และนานถึง 6 เดือน เพื่อป้องกันอาการกำเริบ
ให้คำปรึกษาครอบครัว ลดการแสดงอารมณ์เสียต่อกัน
ลดความคาดหวัง การควบคุม
หลักการจิตเวชชุมชน
เน้นการบำบัดในที่เกิดเหตุหรือบ้านมากที่สุด
การส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันการเจ็บป่วยทางจิต
ให้การบำบัดรักษาแบบทันทีทันใด
นางสาวกัลยกร พาเหลี่ยม เลขที่ 9