Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลภาวะล้มเหลวหลายระบบ - Coggle Diagram
การพยาบาลภาวะล้มเหลวหลายระบบ
สาธารณภัย
เป็นภัยที่เกิดแก่คนหมู่มาก เกิดขึ้นได้ทุกเวลาและทุกสถานที่ อย่างกะทันหันหรือค่อย ๆเกิดขึ้น เป็นอันตรายต่อชีวิตและร่างกายต่อประชาชน เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สิน ก่อให้เกิดความต้องการสิ่งจำเป็นพื้นฐานอย่างรีบด่วน
ประเภท
สาธารณภัยที่เกิดตามธรรมชาติ
ภาวะภูมิอากาศและฤดูกาล
ตามสภาพภูมิประเทศ
ภัยที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของผิวโลก
ภัยทางชีวภาพ
สาธารณภัยที่เกิดจากมนุษย์
ภัยจากการพัฒนาประเทศ
ภัยความขัดแย้งและปัญหาในสังคม
วัตถุประสงค์ของการจัดการ
หลีกเลี่ยงการสูญเสียชีวิต
ป้องกันความเสียหายของทรัพย์สิน รวมถึงการสูญเสียทางเศรษฐกิจ
ส่งเสริมและรักษาสิ่งแวดล้อมทางสังคมและเศรษฐกิจที่มีผลโดยตรงต่อสังคมนั้นๆ
ผลกระทบของสาธารณภัย
ทางการสาธารณสุข
ทางเศรษฐกิจ
ทางสังคม การเมืองและการปกครอง
ทางสาธารณูปโภค
ทางสิ่งแวดล้อม
อุบัติเหตุกลุ่มชน
ระดับที่ 1 (Multiple-Patient Incident)
มีผู้ได้รับบาดเจ็บมากกว่า 10 คน
อาการไม่สาหัสมากทางหน่วยตรวจฉุกเฉิน
สามารถจัดการได้ ไม่ต้องเปิดใช้แผน
ระดับที่ 2 (Multiple-Casualt Incident)
มีผู้ได้รับบาดเจ็บไม่เกิน 100 คน
มีอาการสาหัสหลายราย ต้องขอความร่วมมือจากเจ้าหน้าที่ภายในงานการพยาบาล
ระดับที่ 3 (Mass Casualt Incident)
มีผู้ได้รับบาดเจ็บจำนวนมาก
เหตุการณ์รุนแรง
ต้องขอความช่วยเหลือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
ต้องรายงานต่อผู้บังคับบัญชาให้ทราบเพื่อดำเนินการ
ขั้นตอนการปฏิบัติการ
ตามวัฏจักรของสาธารณภัย
ก่อนเกิดภัย
การเตรียมความพร้อมรับภัย
การป้องกันและลดผลกระทบ
ระหว่างเกิดภัย
การตอบโต้และบรรเทาทุกข์
หลังเกิดภัย
การฟื้นฟูบูรณะและก่อสร้างใหม่
การพยาบาลสาธารณภัย
หลักสำคัญของ
การเข้าช่วยเหลือ
•Safety:
ประเมินความปลอดภัย
•Scene:
ประเมินกลไกการเกิดภัย
•Situation:
ประเมินสถานการณ์
ลักษณะการทำงาน
Detection
Reporting
Response
Care in transit
On scene care
การดูแลผู้ประสบภัยพิบัติหรืออุบัติภัยหมู่
DISASTER
D– Detection เป็นการประเมินสถานการณ์
I - Incident command เป็นระบบผู้บัญชาการเหตุการณ์และผู้ดูภาพรวมของการปฏิบัติการทั้งหมด
S – Safety and Security ประเมินความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานในที่เกิดเหตุ
S – Support เตรียมอุปกรณ์และทรัพยากรที่จําเป็นต้องใช้ในที่
A – Assess Hazards ประเมินสถานที่เกิดเหตุเพื่อระแวดระวังวัตถุอันตรายต่างๆที่อาจเหลือตกค้างในที่เกิดเหตุ
T – Triage/Treatment การคัดกรองและให้การรักษาที่รีบด่วนตามความจําเป็นของผู้ป่วย โดยการใช้หลักการของ MASS Triage Model เพื่อคัดแยกผู้ป่วยแบ่งเป็นกลุ่ม ตาม ID-me ได้อย่างรวดเร็ว
E – Evacuation การอพยพผู้บาดเจ็บระหว่างเหตุการณ์
R – Recovery การฟื้นฟูสภาพหลังจากเกิดเหตุการณ์
บทบาทของพยาบาลในการจัดการสาธารณภัย
การเตรียมความพร้อม
การปกป้อง
ประเมินสถานการณ์ภัย
การเตรียมพร้อมรับสาธารณภัย
การจัดการในภาวะเกิดสาธารณภัย
การสื่อสาร
การสั่งการ
การคัดแยกผู้บาดเจ็บ
การักษา
ขนส่ง
การฟื้นฟูบูรณะ
Triageการคัดแยกผู้ป่วย
Emergent
ผู้ป่วยด่วนมาก แทนด้วยสัญลักษณ์สีแดง
ต้องได้รับการแก้ไขภาวะคุกคามต่อชีวิตภายใน 1 นาที และไม่เกิน 4 นาที
ผู้ป่วยหยุดหายใจ
หายใจหยุด หัวใจเต้น
ผู้ป่วยช็อก
Urgent
ผู้ป่วยฉุกเฉิน แทนด้วย สัญลักษณ์ สีเหลือง
สามารถรอได้โดยไม่เกิดภาวะคุกคามต่อชีวิต
แต่หาก
รอนานเกินไปอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจนถึงชีวิตได้
ผู้ป่วยมีบาดแผล
ผู้ป่วยกระดูกหัก
ผู้ป่วยหอบเหนื่อย
Non urgent
ผู้ป่วยไม่ฉุกเฉิน แทนด้วย สัญลักษณ์สีเขียว
ผู้ป่วยแผลถลอก
ปวดท้องเรื้อรัง
ผู้ป่วยเสียชีวิตหรือหมดหวังในการรักษาจะแทนด้วย สัญลักษณ์สีดำ
เครื่องมือการคัดแยกผู้บาดเจ็บ
ESI (USA)
Canadian Triage and Acuity Scale (CTAS)
Australasian Triage Scale (ATS)
Manchester Triage Scale (U.K.)
Decision Point
A: Is the Patient Dying?
B: Should the Patient Wait?
C: Resource Needs?
D: The Patient’s Vital Signs?
การประเมินสภาวะคร่าวๆ โดยเร่งด่วน
A ได้แก่ Airway maintenance with cervical spine protection
B ได้แก่ Breathing and ventilation
C ได้แก่ Circulation with hemorrhage control
D ได้แก่ Disability : Neurologic status
E ได้แก่ Exposure / Environment control
การรักษาขั้นต้น
การเตรียมรับผู้ป่วย
1.1. Prehospital phase
airway maintenance
immediate transport ไปยัง โรงพยาบาล
control of external bleeding and shock
immobilization
Secondary assessment
F ได้แก่ Fahrenheit ( Keep Patient warm)
G ได้แก่ Get a complete set of V/S
H ได้แก่ History & head- to-toe assessment
A = Allergies
M = Medications currently used
P = Past illnesses/Pregnancy
L = Last meal
E = Events/Environment related to the injury
การสัมภาษณ์เพื่อการคัดกรอง
OLD CART
O = on set of symptoms
L = Location of problem
D = Duration of symptoms
C =Characteristics of the patient
A = Aggravating factors
R = Relieving factors
T = Treatment administered before arrival
การสัมภาษณ์เกี่ยวกับความเจ็บปวด
PQRSTT
P = Provoking factor
Q = Quality of pain
R = Region/Radiation of pain
S = Severity of pain
T =Time pain began
T = Treatment
1.2 Inhospital phase
เป็นการเตรียมให้การดูแลรักษาผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉินของโรงพยาบาล ทั้งที่ได้และไม่ได้รับแจ้งล่วงหน้า มีการเตรียมพร้อมทั้งอุปกรณ์ สถานที่ และบุคลากร
airway equipment
intravenous crystalloid solution
monitoring capability
laboratory and radiology
communication with trauma center
universal precaution