Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับระบบเลือด2 - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับระบบเลือด2
การพยาบาลผู้ป่วย DIC
หลีกเลี่ยงกิจกรรมต่าง ๆ ที่ทำให้เกิด Increase intracranial pressure
หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่มีผลต่อหน้าที่ของเกร็ดเลือด
ASA, NSAID, Beta-lactam antibiotic
Response to heparin therapy
Monitor
V/S, N/S
Hemodynamics
Abdominal girth
Urine output
External bleeding
Fibrinogen level
หลีกเลี่ยงการใช้ยาเข้ากล้ามเนื้อและ rectral
Suction โดยใช้ Low pressure
สังเกต Clot รอบ IV site และ Injections sites
Patient and family support
ภาวะซีด
เป็นภาวะที่มีจำนวนเม็ดเลือดแดงในร่างกายน้อยลงหรือน้อยกว่าปกติ
ชาย
Hb ในเลือดต่ำกว่า 13 กรัม/เดซิลิตร
Hct ต่ำกว่าร้อยละ 39
หญิง
Hb ในเลือดต่ำกว่า12 กรัม/เดซิลิตร
Hct ต่ำกว่า ร้อยละ 36
สาเหตุ
การสร้างเม็ดเลือดแดงลดลง
การขาดสารอาหารที่จำเป็นในการสร้างเม็ดเลือดแดง
การทำงานของไขกระดูกล้มเหลว
การพยาธิสภาพของโรคต่างๆ
เม็ดเลือดแดงถูกทำลายเพิ่มขึ้นหรือมากผิดปกติ
เม็ดเลือดแดงแตกหรือถูกทำลายเร็วกว่าปกติ
การติดเชื้อ เช่น Malaria, Clostridial infection
เนื่องจากยา สารเคมี และ Venoms
การเสียเลือดจากร่างกาย
เม็ดเลือดแดงถูกทำลายอย่างผิดปกติ
สาเหตุ
ความผิดปกติภายในเม็ดเลือดแดง
ความผิดปกติของผนังเซลล์เม็ดเลือดแดง
ความผิดปกติของฮีโมโกลบิน
ภาวะที่มีฮีโมโกลบินในปัสสาวะเวลากลางคืน
อาการและอาการแสดง
เหลืองเนื่องจากมีปริมาณบิลิรูบินในเลือดเพิ่มขึ้น
อาจพบม้ามโต ต่อมน้ำเหลืองโต ปัสสาวะมีสีคล้ำ ปวดท้องอย่างมาก มีแผลบริเวณผิวหนัง
Thalassemia
สาเหตุ
major
เป็นความผิดปกติรุนแรงเพราะมีสภาวะโฮโมไซกัส
อาการและการแสดงอาการ
ผู้ที่เป็นธาลัสซีเมีย ได้แก่ ซีด โหนกแก้มสูง หน้าผากนูนใหญ่ตาเหลือง ดั้งจมูกแฟบ ผิวหนังคล้ำเพราะเม็ดเลือดแดงแตกมากทำให้เหล็กเพิ่มขึ้น
ท้องโตเพราะตับม้ามโต
ธาลัสซีเมีย alpha-trait (The carrier state)
major
ให้เกิด Hydrops fetalis และ Fulminant intrauterine congestive heart failure เด็กทารกมีหัวใจและตับโต บวมและท้องมานอย่างมาก (Massive ascites) จะทำให้เกตามคลอดหรือเสียชีวิตตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดาได้
มีอาการซีดน้อยถึงมาก
ภาวะที่ทำให้มีการสร้างสายโกลบิน (Globin) ลดลงหรือไม่สร้างเลย
beta-Thalassemia
การซีดอย่างรุนแรงเป็นผลให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลว ต้องให้เลือด
minor
ให้มี Mild to moderate microcytic hypochromic anemia ม้ามโตเล็กน้อย ผิวหนังเป็นสีบรอนซ์ และมีการขยายตัวของไขกระดูก มีความผิดปกติของโครงกระดูกซึ่งขึ้นกับระดับของ Reticulocytosis และขึ้นกับความรุนแรงของภาวะซีด มักไม่มีอาการ
อาการเจ็บป่วยมาก มีอการซีดอย่างรุนแรงเป็นผลให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลว ต้องให้เลือดเพื่อให้ผู้ป่วยมีชีวิตอยู่ได้ ผู้ป่วยจะมีตับและม้ามโต มีการเจริญเติบโตช้า
การรักษา
แบบประคับประคอง
การให้เลือดมี 2 แบบ คือ การให้เลือดอย่างสม่ำเสมอตลอดไป
ยาขับเหล็ก ผู้ป่วยจะได้รับเหล็กจากเลือดประมาณครั้งละ 230 มิลลิกรัม หรือปีละ 6 กรัม
การตัดม้าม
กรดโฟลิก (Folic acid) ซึ่งเป็นยาบำรุงเม็ดเลือด
ผู้ป่วยควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง
การรักษาต้นเหตุ
การปลูกถ่ายไขกระดูก
Human leukocyte antigen (HLA) ที่เข้ากันได้
การเปลี่ยนยีน
การปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำหนดเม็ดเลือด
การพยาบาล
มีความผิดปกติของผิวหนังเนื่องจากอวัยวะส่วนปลายขาดเลือดไปเลี้ยง
ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกายเนื่องจากตับและม้ามโต การเมตะบอลิสมบกพร่อง
มีความผิดปกติของการแลกเปลี่ยนออกซิเจนของหัวใจและปอดเนื่องจากการสูบฉีดเลือดออกจากหัวใจไม่ดี
การปฏิบัติตัวไม่ถูกต้องเนื่องจากขาดความรู้
ภาวะพร่องจี-6-พีดี
ถ่ายทอดทางพันธุกรรมแบบ X-linked
สารบางอย่าง เช่น ยา (Aspirin, Antimalarial drugs, Sulfonamides, Vitamin K) เป็นต้น
การพยาบาล
ได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอเนื่องจากภาวะซีด
มีภาวะไม่สมดุลของสารน้ำและอิเล็กโตรไลน์เนื่องจากการแตกของเม็ดเลือดแดง
มีความวิตกกังวลเนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจเรื่องโรค
อาการและอาการแสดง
ภาวะซีดอย่างเฉียบพลัน จากเม็ดเลือดแดงแตกอย่างรวดเร็ว
ภาวะซีดเรื้อรัง
การรักษา
หาสาเหตุและหลีกเลี่ยงแก้ไข เช่น หยุดยาหรือขจัดสารที่เป็นสาเหตุทำให้เม็ดเลือดแดงแตก
ให้เลือด ชนิด Packed red cell เพื่อหลีกเลี่ยงโปแตสเซียมสูง
ดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด เพื่อลดภาวะแทรกซ้อน ดูแลให้สารน้ำและติดตามภาวะสมดุลของอิเล็กโตรไลท์
รักษาตามอาการ
ให้คำแนะนำผู้ป่วยและญาติในการสังเกตอาการผิดปกติ หลีกเลี่ยงการใช้ยาโดยไม่จำเป็น ไม่ควรซื้อยารับประทานเอง
ภาวะซีดจากการเสียเลือดจากร่างกาย
คือ เสียเลือดมากกว่า 1 ใน 3 ของปริมาณเลือดทั้งหมดของร่างกาย
อาการ
อาการซีดหน้าตา ผิวหนัง เปลือกตา เหงือก และลิ้น
อาการเหนื่อยง่ายหรือรู้สึกเหนื่อยผิดปกติเวลาที่ต้องออกแรง
อาการอ่อนเพลีย ไม่สดชื่น ไม่มีแรงเคลื่อนไหว ทำให้มีการเคลื่อนไหวช้า
อาการเป็นลม หน้ามืด วิงเวียน อาจทำให้หกล้มได้
อาการทางสมอง เช่น รู้สึกสมองช้า เวียนศีรษะ
อาการหัวใจขาดเลือด มักพบในผู้ป่วยที่มีโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ
อาการเลือดไปเลี้ยงที่ขาไม่เพียงพอ พบในผู้ป่วยที่มีโรคหลอดเลือดของขา ทำให้ปวดขา
อาการในระบบทางเดินอาหาร เช่น เบื่ออาหาร ท้องอืด
ลิ้นเลี่ยนแสดงถึงภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็ก ทำให้ผิวลิ้นเลี่ยนและซีด
เล็บอ่อนยุบเป็นแอ่ง พบในภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็ก
ความดันโลหิตสูง อาจหมายถึง ภาวะซีดจากไตวายเรื้อรัง
ความดันโลหิตต่ำ
ตับและม้ามโต พบได้ในภาวะซีด
ต่อมน้ำเหลืองโต
ภาวะซีดชนิดเฉียบพลัน
เสียเลือดอย่างเฉียบพลัน
เม็ดเลือดแดงถูกทำลายอย่างเฉียบพลัน
อาจเกิดจากมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน
ภาวะซีดชนิดเรื้อรัง
ประวัติการเสียเลือดชนิดเรื้อรัง ทำให้เกิดภาวะขาดธาตุเหล็ก
ลักษณะของธาลัสซีเมียจากหน้าตาและผิวพรรณ
ลักษณะทางคลินิกของโรคตับ โรคไต โรคเอสแอลอี
ลักษณะทางคลินิกของการขาดสารอาหาร
การรักษา
เป็นการบำบัดอาการของภาวะซีด
การรักษาเฉพาะ เป็นการรักษาที่สาเหตุ เช่น หากพบว่ามีภาวะซีดจากพยาธิปากขอจะให้ยากำจัดพยาธิและให้ยาที่มีธาตุเหล็กควบคู่กันไป
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะซีด
. พฤติกรรมการรับประทานยาที่ถูกต้อง
. การรับประทานอาหาร ควรรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง
การให้คำปรึกษาเกี่ยวกับโรคที่เป็นสาเหตุของการเกิดภาวะซีด
การพักผ่อน และการออกกำลังกาย