Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลภาวะล้มเหลวหลายระบบ - Coggle Diagram
การพยาบาลภาวะล้มเหลวหลายระบบ
สาธารณภัย
เป็นภัยที่เกิดแก่คนหมู่มาก เกิดขึ้นได้ทุกเวลาและทุกสถานที่ อย่างกะทันหันหรือค่อย ๆเกิดขึ้น เป็นอันตรายต่อชีวิตและร่างกายต่อประชาชน เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สิน ก่อให้เกิดความต้องการสิ่งจำเป็นพื้นฐานอย่างรีบด่วน
ประเภทของสาธารณภัย
สาธารณภัยที่เกิดตามธรรมชาติ (Natural disaster)
ตามสภาพภูมิประเทศ
ภัยที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของผิวโลก
ภาวะภูมิอากาศและฤดูกาล
ภัยทางชีวภาพ
สาธารณภัยที่เกิดจากมนุษย์ ( Man-made disaster)
ภัยจากการพัฒนาประเทศ
ภัยความขัดแย้งและปัญหาในสังคม
Mass Casualty
อุบัติเหตุกลุ่มชน หรือบางคนก็เรียกว่า Mass Emergency ซึ่งเป็นการได้รับอุบัติเหตุหรือบาดเจ็บในคนหมู่มาก
แบ่งเป็น
ระดับที่ 2 (Multiple-Casualt Incident) มีผู้ได้รับบาดเจ็บไม่เกิน 100 คน มีอาการสาหัสหลายราย ต้องขอความร่วมมือจากเจ้าหน้าที่ภายในงานการพยาบาลผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยฉุกเฉิน หรือโรงพยาบาลอื่น
ระดับที่ 1 (Multiple-Patient Incident) มีผู้ได้รับบาดเจ็บมากกว่า 10 คน และอาการไม่สาหัสมากทางหน่วยตรวจฉุกเฉิน สามารถจัดการได้ ไม่ต้องเปิดใช้แผน
ระดับที่ 3 (Mass Casualt Incident) ผู้ได้รับบาดเจ็บจำนวนมาก (ตั้งแต่ 100 คน ขึ้นไป) เหตุการณ์รุนแรง ต้องขอความช่วยเหลือจากแพทย์ที่เกี่ยวข้อง เจ้าหน้าที่ฝ่ายการพยาบาล เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ งานโภชนาการ ห้องยา ห้องผ่าตัด หน่วยขนย้าย หน่วยรังสี เจ้าหน้าที่ตำรวจ หน่วยเวช-ระเบียน และต้องรายงานต่อผู้บังคับบัญชาให้ทราบเพื่อดำเนินการ
ขั้นตอนการปฏิบัติการ
การเตรียมความพร้อมรับภัย
(Preparedness)
1.การป้องกันและลดผลกระทบ
(Prevention and Mitigation)
การตอบโต้และบรรเทาทุกข์(การจัดการในภาวะฉุกเฉิน)
(Response and Relief or Emergency)
การฟื้นฟูบูรณะและก่อสร้างใหม่
(Rehabilitation and Reconstruction)
หลักสำคัญของ
การเข้าช่วยเหลือ
Scene ประเมินกลไกการเกิดภัย
Situation ประเมินสถานการณ์
Safety ประเมินความปลอดภัย
ลักษณะการทำงาน
Detection
Reporting
Response
On scene care
Care in transit
การดูแลผู้ประสบภัยพิบัติหรืออุบัติภัยหมู่
D– Detection เป็นการประเมินสถานการณ์
I - Incident command เป็นระบบผู้บัญชาการเหตุการณ์และผู้ดูภาพรวมของการปฏิบัติการทั้งหมด
A – Assess Hazards ประเมินสถานที่เกิดเหตุเพื่อระแวดระวังวัตถุอันตรายต่างๆที่อาจเหลือตกค้างในที่เกิดเหตุ
S – Safety and Security ประเมินความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานในที่เกิดเหตุ
S – Support เตรียมอุปกรณ์และทรัพยากรที่จําเป็นต้องใช้ในที่
เกิดเหตุ
T – Triage/Treatment การคัดกรองและให้การรักษาที่รีบด่วนตามความจําเป็นของผู้ป่วย โดยการใช้หลักการของ MASS Triage Model
E – Evacuation การอพยพผู้บาดเจ็บระหว่างเหตุการณ์
R – Recovery การฟื้นฟูสภาพหลังจากเกิดเหตุการณ์
บทบาทของพยาบาลในการจัดการสาธารณภัย
การจัดการในภาวะเกิดสาธารณภัย
การฟื้นฟูบูรณะ
การเตรียมความพร้อม
ผลกระทบของสาธารณภัย
1.ทางการสาธารณสุข
2.ทางเศรษฐกิจ
3.ทางสังคม การเมืองและการปกครอง
4.ทางสาธารณูปโภค
5.ทางสิ่งแวดล้อม
Triage ( การคัดแยกผู้ป่วย )
Emergent ผู้ป่วยด่วนมาก แทนด้วยสัญลักษณ์สีแดง ซึ่งผู้ป่วยกลุ่มนี้ต้องได้รับการแก้ไขภาวะคุกคามต่อชีวิตภายใน 1 นาที และไม่เกิน 4 นาที
Urgent ผู้ป่วยฉุกเฉิน แทนด้วย สัญลักษณ์ สีเหลือง ผู้ป่วยกลุ่มนี้สามารถรอได้โดยไม่เกิดภาวะคุกคามต่อชีวิต แต่หาก
รอนานเกินไปอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจนถึงชีวิตได้
Non urgent ผู้ป่วยไม่ฉุกเฉิน แทนด้วย สัญลักษณ์สีเขียว เช่น ผู้ป่วยแผลถลอก ปวดท้องเรื้อรัง (สัญญาณชีพปกติ)
ผู้ป่วยเสียชีวิตหรือหมดหวังในการรักษาจะแทนด้วย สัญลักษณ์สีดำ
การประเมินสภาวะคร่าวๆ โดยเร่งด่วน
Primary assessment
C ได้แก่ Circulation with hemorrhage control
D ได้แก่ Disability : Neurologic status
B ได้แก่ Breathing and ventilation
E ได้แก่ Exposure / Environment control
A ได้แก่ Airway maintenance with cervical spine protection
การรักษาขั้นต้นในผู้ป่วยที่ได้รับอุบัติเหตุ
การเตรียมรับผู้ป่วย
Prehospital phase เป็นการดูแลผู้ป่วย ณ ที่เกิดเหตุ
Inhospital phase เป็นการเตรียมให้การดูแลรักษาผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉินของโรงพยาบาล ทั้งที่ได้และไม่ได้รับแจ้งล่วงหน้า มีการเตรียมพร้อมทั้งอุปกรณ์ สถานที่ และบุคลากร
การพยาบาลภาวะล้มเหลวหลายระบบ
เป็นภาวะที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยวิกฤตพร้อมกับมีอาการคุมคามต่อชีวิต โดยจะเป็นกลุ่มอาการที่อวัยวะทำงานผิดปกติ (MODS)จนถึงขั้นล้มเหลว (MOF)ตั้งแต่ 2 ระบบขึ้นไป เกิดขึ้นภายหลังจากร่างกายมีการอักเสบที่รุนแรงจนไม่สามารถควบคุมได้ (SIRS)
ชนิดของ MODS
Primary MODS
เป็นผลโดยตรงบริเวณที่เกิด injury มีผลทำให้เกิด impaired perfusion / ischemia
Secondary MODS
ส่วนมากเป็น a complication of septic shock/ Systemic Inflammatory Response Syndrome: SIRS any forms of shock อาจเป็นสาเหตุ เพราะทำให้เกิดภาวะ inadequate tissue perfusion
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บแต่ละอวัยวะ
การบาดเจ็บที่ใบหน้า
จากอุบัติเหตุ จะพบมีเลือดในช่องปากหรือจมูกและฟันหลุดในช่องปาก กระดูกขากรรไกรบนที่แตกรุนแรง
ประเมินโดย ตรวจร่างกายเบื้องต้น primary assessment
การรักษา
3.Management of shock
2.Control hemorrhage
1.Clear airway
การบาดเจ็บที่คอ
อาการแสดง
ปวดต้นคอ กล้ามเนื้อคอแข็งเกร็ง, ปวด, บวม,อาจมีรอยฟกช้ำของเลือดให้เห็น มีแขนหรือขาชา และ อ่อนแรงร่วมด้วย
การรักษา
ดึงกระดูกคอ
การผ่าตัด
ดามคอที่หักให้ตรง rigid cervical collar
การบาดเจ็บที่ทรวงอก
แบ่งออกได้ดังนี้
ภาวะการเปลี่ยนแปลงในช่องเยื่อหุ้มปอด (Pleural cavity)
ภาวะที่มีการเสียความแข็งแรงของผนังทรวงอก หรือภาวะอกรวน
ภาวะที่มีการติดกันของเยื่อหุ้มปอดชั้นนอกและชั้นใน
ภาวะที่มีของเหลวเข้าไปในช่องเยื่อหุ้มปอด
ภาวะที่มีลมรั่วเข้าไปในช่องเยื่อหุ้มปอด
ภาวะการเปลี่ยนแปลงที่เกิดในช่องเยื่อหุ้มหัวใจ (Pericardial Cavity)
ภาวะที่มีลมรั่วเข้าไปในเลือด (Air emboil)
ภาวะการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับเมดิเอสตินั่ม (Mediastinum)
ภาวะที่มีก้อนหรือต่อมน้ำเหลืองโตในเมอิเอสตินั่ม
ภาวะการติดเชื้อในเมดิเอสตินั่ม
ภาวะที่ทำให้เกิดการแกว่งของเมดิเอสตินั่ม
ภาวะที่ทำให้เกิดการเบียดเมดิเอสตินั่มไปข้างใดข้างหนึ่ง
ภาวะการกดต่อเมดิเอสตินั่ม
การรักษา
ยึดหลัก ABCD
ภาวะอกรวน ยึดทรวงอกให้อยู่นิ่ง
รักษาภาวะช็อค
การบาดเจ็บที่ช่องท้อง
ประเภท
Blunt trauma การบาดเจ็บที่ไม่มีแผลทะลุที่ท้อง หรือถูกกระแทก
Penetrating trauma เป็นการบาดเจ็บที่มีแผลทะลุหน้าท้อง
การรักษา
อวัยวะในช่องท้องที่โผล่ทะลักออกมาห้ามนำกลับเข้าที่เดิมจนกว่าจะได้รับการผ่าตัด
การรักษาตามอาการและผลกระทบจากการถูกทำลายของอวัยวะนั้นๆ
วัตถุที่เสียบคา ทำให้สั้นลงเพื่อสะดวกต่อการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยปล่อยให้มีส่วนของวัตถุโผล่พ้นขึ้นมา ทำให้นิ่งอยู่กับที่ให้มากที่สุดจนกว่าจะได้รับการผ่าตัด
การผ่าตัด
ช่วยเหลือเบื้องต้น ทางเดินหายใจและระบบไหลเวียนโลหิต การดามกระดูกสันหลัง
การบาดเจ็บกระดูกเชิงกราน
อาการและอาการแสดง
มีแผลที่ทวารหนักหรือช่องคลอด,เลือดออกทางเดินปัสสาวะ,คลำกระเพาะปัสสาวะได้,ตรวจทางทวารหนักคลำตำแหน่งของต่อมลูกหมาก,คลำได้ชิ้นกระดูกหรือเลือดคั่งจากการตรวจทางทวารหนักเรียกว่า Earle’s sign
การดูแลรักษาเบื้องต้น
ให้สารน้ำทดแทน เพื่อรักษาปริมาตรของสารน้ำในระบบไหลเวียนอย่างรวดเร็ว
การ Reduction และ Stabilization ทำ External fixator
วัดสัญญาณชีพ ประเมินการสูญเสียเลือดอย่างรุนแรง
การผ่าตัดผูกหลอดเลือด
การบาดเจ็บระบบทางเดินปัสสาวะ
การบาดเจ็บที่ไต
การบาดเจ็บที่ท่อไต
การบาดเจ็บต่อกระเพาะปัสสาวะ
การบาดเจ็บต่อหลอดปัสสาวะ
การบาดเจ็บอวัยวะเพศ
การรักษา
การใส่ท่อระบายกระเพาะปัสสาวะ
ผ่าตัดซ่อมแซมส่วนที่แตกและล้างน้ำปัสสาวะที่ เข้าไปอยู่ในช่องท้องออกให้สะอาด