Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลภาวะล้มเหลวหลายระบบ - Coggle Diagram
การพยาบาลภาวะล้มเหลวหลายระบบ
สาธารณภัย
ความหมาย
เป็นภัยที่เกิดกับคนหมู่มาก เกิดขึ้นได้กะทันหัน เป็นอันตรายต่อชีวิตและร่างกาย
ประเภท
สาธารณภัยที่เกิดตามธรรมชาติ
ภาวะภูมิอากาศและฤดูกาล
ตามสภาพภูมิประเทศ
ภัยที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของผิวโลก
ภัยทางชีวภาพ
สาธารณภัยที่เกิดจากมนุษย์
ภัยจากการพัฒนาประเทศ
ภัยความขัดแย้งและปัญหาในสังคม
Mass Casualty
ระดับ
Multiple-Casualt Incident
มีผู้ได้รับบาดเจ็บไม่เกิน 100 คน มีอาการสาหัสหลายราย
Mass Casualt Incident
มีผู้ได้รับบาดเจ็บจำนวนมาก (ตั้งแต่ 100 คน ขึ้นไป) เหตุการณ์รุนแรง
Multiple-Patient Incident
มีผู้ได้รับบาดเจ็บมากกว่า 10 คน และอาการไม่สาหัสมาก
ขั้นตอนการปฏิบัติการการเกิดสาธารณภัย
การป้องกันและลดผลกระทบ
การเตรียมพร้อมรับภัย
3.การตอบโต้และบรรเทาทุกข์
การฟื้นฟูบูรณะและก่อสร้างใหม่
ความหมาย
อุบัติเหตุกลุ่มชน ซึ่งเป็นการได้รับอุบัติเหตุหรือบาดเจ็บในคนหมู่มาก
ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน
การพยาบาลสาธารณภัย
ประเมินความปลอดภัย
ประเมินกลไกการเกิดภัย
ประเมินสถานการณ์
ลักษณะการทำงาน
รายงานสถานการณ์
ประเมินอุปกรณ์การช่วยเหลือให้เพียงพอ
เรียกกู้ภัย
ช่วยเหลือเบื้องต้น ณ จุดเกิดเหตุ
ช่วยเหลือขณะเคลื่อนย้าย
ความหมาย
การจัดให้มีการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินภายใต้การกำกับดูแลของแพทย์
การดูแลผู้ประสบภัยพิบัติหรืออุบัติภัยหมู่
DISAS
เป็นระบบผู้บัญชาการเหตุการณ์และดูแลภาพรวมของเหตุการณ์ทั้งหมด
ประเมินความปลอดภัย
ประเมินสถานการณ์
ประเมินสถานการณ์ที่เกิดเหตุ
เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม
บทบาทพยาบาลในการจัดการสาธารณภัย
การจัดการในภาวะเกิดสาธารณภัย
การฟื้นฟูบูรณะ
การเตรียมความพร้อม
ผลกระทบของสาธารณภัย
ทางเศรษฐกิจ
ทางสังคม การเมืองการปกครอง
ทางการสาธารณสุข
ทางสาธารณูปโภค
ทางสิ่งแวดล้อม
Triage (การคัดแยกผู้ป่วย)
Urgent
ผู้ป่วยฉุกเฉิน แทนด้วนสัญลักษณ์สีหลือง กลุ่มนี้ไม่เกิดภาวะคุกคามกับชีวิต
Non urgent
ผู้ป่วยไม่ฉุกเฉิน แทนด้วยสัญลักษณ์สีเขียว
Emergent
ผู้ป่วยด่วนมาก แทนด้วยสํญลักษณ์สีแดง
การประเมินอาการทางระบบประสาท
V=Verbal
P=Painful
A=Alert
U=Unresponsive
การรักษาขั้นต้นในผู้ป่วยที่ได้รับอุบัติเหตุ
Initial assessment and Management
การเตรียมรับผู้ป่วย
Prehospital phase เป็นการดูแลผู้ป่วย ณ ที่เกิดเหตุ
Inhospital phase เป็นการเตรียมให้การดูแลรักษาผู้ป่วย
ติดตามมอนิเตอร์
ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการและรังสีวิทยา
ให้สารน้ำ
การสื่อสารร่วมกับศูนย์อุบัติเหตุ
เตรียมอุปกรณ์
ข้อควรระวัง
Secondary assessment
ให้ความอบอุ่นแก่ผู้ป่วย
ประเมิน V/S
ประวัติการเจ็บป่วย เช่น โรคประจำตัว การแพ้ยา
การสัมภาษณ์เพื่อการคัดกรอง
หลัก Old cart
ระยะเวลาของอาการ
ลักษณะของผู้ป่วย
บริเวณที่มีปัญหา
ปัจจัยที่ทำให้รุนแรงขึ้น
อาการ
ปัจจัยบรรเทา
การรักษาก่อนมาถึง
การสัมภาษณ์เกี่ยวกับความเจ็บปวด
หลัก PQRSTT
บริเวณที่ปวด
ความรุนแรงของความเจ็บปวด
ระดับความเจ็บปวด
เวลาเริ่มปวด
ปัจจัยกระตุ้น
การรักษา
การพยาบาลภาวะล้มเหลวหลายระบบ
ความหมาย
เป็นภาวะที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยวิกฤตพร้อมกับมีการคุกคามต่อชีวิต
มีการทำลาย เซลล์ เนื้อเยื่อ หรืออวัยวะที่ปกติของร่างกาย
ชนิด
Primary MODS
เป็นผลโดยตรงบริเวณที่เกิด injury มีผลทำให้เกิด impaired perfusion/ischemia
Secondary MODS
ส่วนมากเป็น a complication of septic shock/Systemic inflammatory response syndrome
any forms of shock อาจเป็นสาเหตุ เพราะทำให้เกิดภาวะ inadequate tissue perfusion
ทฤษฎี/สมมุติฐานการเกิดกลุ่ม MODS
Macrophage theory
กระตุ้น macrophages บริเวณที่มีการบาดเจ็บมากเกิน และกระตุ้น neutrophils, endothelial cell ทั่วร่างกาย
Microcirculatory hypothesis
tissue hypoxia จาก hypotension and shock
Endothelial-leukocyte interaction
ปฎิสัมพันธ์ระหว่างเม็ดเลือดขาว เซลล์เยื่อบุผนังด้านในของหลอดเลือด
Gut hypothesis
การบาดเจ็บที่รุนแรงทำให้เกิด gut hypoxia, mucosal leakage
การพยาบาลผู้ป่วยทีได้รับบาดเจ็บแต่ละอวัยวะ
การบาดเจ็บที่ใบหน้า
จากอุบัตืเหตุ จะพบเลือดในช่องปาก หรือจมูก ประเมินโดยการตรวจร่างกาย
การบาดเจ็บที่คอ
ปวดต้นคอ กล้ามเนื้อคอแข็งเกร็ง ปวดบวม
การรักษา
ดึงกระดูกคอ
ดามคอที่หัก
การผ่าตัด
การบาดเจ็บที่ทรวงอก
อากาศเข้าปอดไม่ได้ ทรวงอกจะขยายออกไม่ได้เต็มที่
ทางเดินหายใจส่วนบน พบกล้ามเนื้อคอโป่ง
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในภาวะการบาดเจ็บทรวงอก
ภาวะที่มีลมรั่วเข้าไปในเลือด
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขี้นกัเมดิเอสตินั่ม
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดในช่องเยื่อหุ้มหัวใจ
การเปลี่ยนแปลงในช่องเยื่อหุ้มปอด
การรักษา
รักษาภาวะช็อค
Cardiac temponade
ภาวะอกรวน ยึดอกให้อยู่นิ่ง
ยึดหลัก ABCD
การบาดเจ็บที่ช่องท้อง
ประเภท
Blunt trauma
ไม่มีแผลทะลุที่ท้องหรือถูกกระแทก
Penetrating trauma
เป็นการบาดเจ็บที่มีแผลทะลุหน้าท้อง
การประเมิน
การฟัง การเคาะ อาจพบเสียงลำไส้ที่ช่องอก เคาะทึบ หรือโป่ง
การกดหน้าท้องและปล่อยอย่างรวดเร็ว
กาคลำ ผู้ป่วยเกร็งหน้าท้องเองเวลากด
การดู พบรอยช้ำ รอยแผล
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Liver function studies
Serum chemistry
Blood type
Blood chemistry
CBC
Urinalysis
PT,PTT
การตรวจพิเศษ
CXR
Diagnositic peritoneal lavage
Imageingstudy
Focused assessment with sonography for trauma
การพยาบาล
ถ้าอวัยวะในช่องท้องทะลักออกมาห้ามดันเข้าไปเหมือนเดิม ปิดคลุมด้วยก็อซชุบน้ำเกลือ
การรักษาตามอาการ
วัตถุที่เสียบคาทำให้สั้นลง ทำให้นิ่งที่สุดก่อนการผ่าตัด
การผ่าตัด
ช่วยเหลือเบื้องต้น
การบาดเจ็บที่กระดูกเชิงกราน
อาการ
มีแผลที่ทวารหนักหรือช่องคลอด เลือดออกทางเดินปัสสาวะ
มีเลือดออกหลังเยื่อบุช่องท้อง
การดูแลรักษา
การผ่าตัดผูกหลอดเลือด
การ reduction และ stabilization
ให้สารน้ำทดแทน
วัด v/s ประเมินการเสียเลือด
การบาดเจ็บที่ระบบทางเดินปัสสาวะ
การบาดเจ็บต่อกระเพาะปัสสาวะ
การบาดเจ็บต่อหลอดปัสสาวะ
การบาดเจ็บที่ท่อไต
การบาดเจ็บที่อวัยวะเพศ
การบาดเจ็บที่ไต
การตรวจร่างกาย
การเคาะ การเคาะหากระเพาะปัสสาวะ เคาะหน้าท้องพบเสียงทึบ
การคลำ การกดเจ็บและแข็งเกร็งบริเวณบั้นเอว
การฟัง เสียง Bruits
การดู รอยจ้ำเลือด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC
การตรวจพิเศษ
BUN, Creatinine
Plain KUB,Intravenous pyelography retrograde pyelography
การรักษา
การใส่ท่อระบายปัสสาวะ
การผ่าตัดซ่อมแซมส่วนที่แตกและล้างปัสสาวะที่อยู่ในช่องท้องให้สะอาด
การพยาบาล
การส่งเสริมการไหลเวียนเลือดอย่างเพียงพอ
เฝ้าระวังการไหลเวียนเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆ
ดูแลให้สารน้ำ
ดูแลให้ Vasopressor และ inotropic drug
ดูแลให้ sodium bicarbornate เพื่อรักษาภาวะความเป็นกรด
ดูแลให้ยา diuretics และ dopamine
ประเมินอาการของภาวะล้มเหลวหลายระบบ