Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลภาวะล้มเหลวหลายระบบ, นางสาวณัฐวดี สมบูรณ์ เลขที่ 26 รหัสนักศึกษา…
การพยาบาลภาวะล้มเหลวหลายระบบ
สาธารณภัย
เป็นภัยที่เกิดแก่คนหมู่มาก
ประเภทของสาธารณภัย
สาธารณภัยที่เกิดตามธรรมชาติ
ภาวะภูมิอากาศและฤดูกาล
ตามสภาพภูมิประเทศ
ภัยที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของผิวโลก
ภัยทางชีวภาพ
สาธารณภัยที่เกิดจากมนุษย์
ภัยจากการพัฒนาประเทศ
ภัยความขัดแย้งและปัญหาในสังคม
Mass Casualty
การได้รับอุบัติเหตุหรือบาดเจ็บในคนหมู่มาก
.
ระดับที่ 1 (Multiple-Patient Incident)
มีผู้ได้รับบาดเจ็บมากกว่า 10 คน และอาการไม่สาหัสมากทางหน่วยตรวจฉุกเฉิน สามารถจัดการได้ ไม่ต้องเปิดใช้แผน
ระดับที่ 2 (Multiple-Casualt Incident)
ผู้ได้รับบาดเจ็บไม่เกิน 100 คน มีอาการสาหัสหลายราย ต้องขอความร่วมมือจากเจ้าหน้าที่ภายในงานการพยาบาลผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยฉุกเฉิน หรือโรงพยาบาลอื่น
ระดับที่ 3 (Mass Casualt Incident)
มีผู้ได้รับบาดเจ็บจำนวนมาก (ตั้งแต่ 100 คน ขึ้นไป) เหตุการณ์รุนแรง ต้องขอความช่วยเหลือจากบุคลากรที่เกี่ยวข้อง และต้องรายงานต่อผู้บังคับบัญชาให้ทราบเพื่อดำเนินการ
การปฏิบัติการ
ตามวัฏจักรของสาธารณภัย
ก่อนเกิดภัย
การป้องกันและลดผลกระทบ(Prevention and Mitigation)
การเตรียมความพร้อมรับภัย (Preparedness)
ระหว่างเกิดภัย
การตอบโต้และบรรเทาทุกข์ (การจัดการในภาวะฉุกเฉิน) (Response and Relief or Emergency
หลังเกิดภัย
การฟื้นฟูบูรณะและก่อสร้างใหม่ (Rehabilitation and Reconstruction)
การพยาบาลสาธารณภัย
การดำเนินกิจกรรมที่มุ่งลดความเสียหายต่อชีวิตและสุขภาพของมนุษย์ที่เกิดจากสาธารณภัย บนพื้นฐานองค์ความรู้ และทักษะทางการพยาบาล อย่างเป็นระบบ ยืดหยุ่น โดยทำงานประสานความร่วมมือกับวิชาชีพอื่น
หลักสำคัญ
.
•Safety: ประเมินความปลอดภัย
•Scene: ประเมินกลไกการเกิดภัย
•Situation: ประเมินสถานการณ์
ลักษณะการทำงาน
.
Detection
Reporting
Response
On scene care
Care in transit
บทบาทของพยาบาลในการจัดการสาธารณภัย
1.การเตรียมความพร้อม
การจัดการในภาวะเกิดสาธารณภัย
การฟื้นฟูบูรณะ
Triage
Emergent
แทนด้วยสัญลักษณ์สีแดง
ผู้ป่วยกลุ่มนี้ต้องได้รับการแก้ไขภาวะคุกคามต่อชีวิตภายใน 1 นาที และไม่เกิน 4 นาที
Urgent
แทนด้วย สัญลักษณ์ สีเหลือง
ผู้ป่วยกลุ่มนี้สามารถรอได้โดยไม่เกิดภาวะคุกคามต่อชีวิต แต่หากรอนานเกินไปอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจนถึงชีวิตได้
Non urgent
แทนด้วย สัญลักษณ์สีเขียว
ผู้ป่วยไม่ฉุกเฉิน
ผู้ป่วยเสียชีวิต
แทนด้วย สัญลักษณ์สีดำ
ESI Conceptual Algorithm
Decision Point A: Is the Patient Dying?
Decision Point B: Should the Patient Wait?
Decision Point C: Resource Needs?
Decision Point B: Should the Patient Wait?
.
High risk ต้องได้รับการช่วยเหลืออย่างเร็ว สามารถให้การช่วยเหลือเบื้องต้นได้ เช่น ให้ O2, เปิด IV fluid, monitor EKG
Confused พิจารณาว่าเป็นอาการที่เกิดขึ้นใหม่
Distress
Decision Point D: The Patient’s Vital Signs?
Danger zone vital signs: Adults (>8 years old) = Pulse <50 or >100 RR <10 or >30 BP <90/60 SaO2 <80%
การเตรียมรับผู้ป่วย
1.1 Prehospital phase
การประเมิน
.
C ได้แก่ Circulation with hemorrhage control
D ได้แก่ Disability : Neurologic status
E ได้แก่ Exposure / Environment control
F ได้แก่ Fahrenheit ( Keep Patient warm)
G ได้แก่ Get a complete set of V/S
H ได้แก่ History & head- to-toe
Assessment
.
A = Allergies
M = Medications currently used
P = Past illnesses/Pregnancy
L = Last meal
E = Events/Environment related to the injury
I ได้แก่ Inspect posterior surfaces
B ได้แก่ Breathing and ventilation
A ได้แก่ Airway maintenance with cervical spine protection
การสัมภาษณ์เพื่อการคัดกรอง
OLD CART
.
L = Location of problem
D = Duration of symptoms
C =Characteristics of the patient
A = Aggravating factors
R = Relieving factors
T = Treatment administered before arrival
O = on set of symptoms
การสัมภาษณ์เกี่ยวกับความเจ็บปวด
PQRSTT
.
P = Provoking factor
Q = Quality of pain
R = Region/Radiation of pain
S = Severity of pain
T =Time pain began
T = Treatment
เครื่องชี้วัดในการบ่งบอกระดับความรุนแรง
trauma score
.
glasgow coma score
blood pressure
pulse rate
capillary filling
respiration
Score Rating Definition
.
5 Good Recovery Resumption of normal life despite minor deficits
4 Moderate Disability Disabled but independent. Can work in sheltered setting
3 Severe Disability Conscious but disabled. Dependent for daily support
2 Persistent vegetative Minimal responsiveness
1 Death Non survival
เป็นการดูแลผู้ป่วย ณ ที่เกิดเหตุ
1.2 Inhospital phase
เป็นการเตรียมให้การดูแลรักษาผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉินของโรงพยาบาล ทั้งที่ได้และไม่ได้รับแจ้งล่วงหน้า
Inhospital phase
.
airway equipment
intravenous crystalloid solution
monitoring capability
laboratory and radiology
communication with trauma center
universal precaution
ชนิดของ MODS
Primary MODS
เป็นผลโดยตรงบริเวณที่เกิด injury มีผลทำให้เกิด impaired perfusion / ischemia
Secondary MODS
ส่วนมากเป็น a complication of septic shock/ Systemic Inflammatory Response Syndrome: SIRS
any forms of shock อาจเป็นสาเหตุ เพราะทำให้เกิดภาวะ inadequate tissue perfusion
สมมุติฐานการเกิดกลุ่ม MODS
Macrophage theory
กระตุ้น macrophages บริเวณที่มีการบาดเจ็บมากเกิน และกระตุ้น neutrophils, endothelial cell ทั่วทั้งร่างกาย ทำให้มีการทำลายอวัยวะที่ห่างไกลจากจุดเกิดเหตุ
Microcirculatory hypothesis
Tissue hypoxia จาก hypotension & shock
Endothelial-Leukocyte Interaction
ปฎิสัมพันธ์ระหว่างเม็ดเลือดขาว & เซลเยื่อบุผนังด้านในของ หลอดเลือด
Gut Hypothesis
การบาดเจ็บที่รุนแรงทำให้เกิด gut hypoxia, mucosal leakage ทำให้ bacterial translocation เข้ามาในร่างกายผ่าน portal system เข้าตับ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บแต่ละอวัยวะ
การบาดเจ็บที่ใบหน้า
ประเมินโดย
ตรวจร่างกายเบื้องต้น primary assessment
การรักษา
.
Clear airway
2.Control hemorrhage
Management of shock
Rapid Trauma Assessment
DCAP-BTLS
.
D = Deformities : การผิดรูป
C = Contusions : การฟกช้ำ
A = Abrasions : แผลถลอก
P = Puncture / Penetrations : แผลที่มีวัสดุปักคา
B = Burns : แผลไหม้
T = Tenderness : ตำแหน่งที่กดนั้นมีการเจ็บ
L = Lacerations : แผลฉีกขาด
S = Swelling : อาการบวม
การบาดเจ็บที่คอ
อาการแสดง
ปวดต้นคอ กล้ามเนื้อคอแข็งเกร็ง, ปวด, บวม,อาจมีรอยฟกช้ำของเลือดให้เห็น มีแขนหรือขาชา และ อ่อนแรงร่วมด้วย
การรักษา
.
ดามคอที่หักให้ตรง rigid cervical collar
ดึงกระดูกคอ
การผ่าตัด
ปัญหาการพยาบาล
.
Obstruct airway
Circulatory failure
IICP
CSF rhinorrhea otorrhea
Skin infection osteomyelitis
Body image change
Malnutrition
Pain
Communication problem
Home health education
การบาดเจ็บที่ทรวงอก
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
1. ภาวะการเปลี่ยนแปลงในช่องเยื่อหุ้มปอด (Pleural cavity)
1.1 ภาวะที่มีลมรั่วเข้าไปในช่องเยื่อหุ้มปอด
.
1.1.1 ภาวะที่ลมรั่วแบบธรรมดา
1.1.2 ภาวะที่ลมรั่วแบบอันตราย
1.1.3 ภาวะที่ลมรั่วแบบมีรูติดต่อภายนอก
1.2 ภาวะที่มีของเหลวเข้าไปในช่องเยื่อหุ้มปอด
.
1.2.1 ภาวะมีเลือด
1.2.2 ภาวะมีน้ำ
1.2.3 ภาวะมีหนอง
1.3 ภาวะที่มีการติดกันของเยื่อหุ้มปอดชั้นนอกและชั้นใน
1.4 ภาวะที่มีการเสียความแข็งแรงของผนังทรวงอก หรือภาวะอกรวน
2. ภาวะการเปลี่ยนแปลงที่เกิดในช่องเยื่อหุ้มหัวใจ (Pericardial Cavity)
3. ภาวะการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับเมดิเอสตินั่ม (Mediastinum)
.
3.1 ภาวะที่ทำให้เกิดการเบียดเมดิเอสตินั่มไปข้างใดข้างหนึ่ง
.
ภาวะลมรั่วอันตราย
ภาวะมีน้ำจำนวนมากในช่องเยื่อหุ้มปอด
ภาวะที่มีเลือดจำนวนมากในช่องเยื่อหุ้มปอด
3.2 ภาวะที่ทำให้เกิดการแกว่งของเมดิเอสตินั่ม
ภาวะที่มีอกรวน
ภาวะที่มีรูรั่วของผนังทรวงอก
3.3 ภาวะที่มีก้อนหรือต่อมน้ำเหลืองโตในเมอิเอสตินั่ม
.
ภาวะที่มีเส้นเลือดโป่งพอง
ภาวะมีเนื้องอกของเมดิเอสตินั่ม
ภาวะที่มีต่อมน้ำเหลืองโต
3.4 ภาวะการติดเชื้อในเมดิเอสตินั่ม
ภาวการณ์ติดเชื้อแบบเรื้อรัง
ภาวะการติดเชื้อแบบเฉียบพลัน
3.5 ภาวะการกดต่อเมดิเอสตินั่ม
ภาวะมีลมรั่วในเมดิเอสตินั่ม
ภาวะมีการรัดต่อเมดิเอสตินั่ม
ภาวะที่มีลมรั่วเข้าไปในเลือด (Air emboil)
กลไกการบาดเจ็บที่ทำให้เกิด Flail chest
การหายใจแบบ paradoxical respiration
การรักษา
.
ยึดหลัก ABCD
ภาวะอกรวน ยึดทรวงอกให้อยู่นิ่ง
รักษาภาวะช็อค
Cardiac tamponade
การบาดเจ็บที่ช่องท้อง
ประเภท
Blunt trauma การบาดเจ็บที่ไม่มีแผลทะลุที่ท้อง หรือถูกกระแทก การให้การช่วยเหลือ โดยวิธีการผ่าตัด สังเกตอาการอย่างใกล้ชิด
Penetrating trauma เป็นการบาดเจ็บที่มีแผลทะลุหน้าท้อง แบ่งออกเป็น การบาดเจ็บที่มีแผลถูกแทงจากของมีคม และการบาดเจ็บที่ท้องที่มีแผลถูกยิง : การผ่าตัด
การรักษาพยาบาล
.
ช่วยเหลือเบื้องต้น ทางเดินหายใจและระบบไหลเวียนโลหิต การดามกระดูกสันหลัง
วัตถุที่เสียบคา
.
ทำให้สั้นลงเพื่อสะดวกต่อการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
ปล่อยให้มีส่วนของวัตถุโผล่พ้นขึ้นมา
ทำให้นิ่งอยู่กับที่ให้มากที่สุดจนกว่าจะได้รับการผ่าตัด
อวัยวะในช่องท้องที่โผล่ทะลักออกมาห้ามนำกลับเข้าที่เดิมจนกว่าจะได้รับการผ่าตัดให้ ปิดคลุมด้วยผ้าก็อซชุบน้ำเกลือ (หรือที่สะอาดที่สุดที่จะหาได้ในขณะนั้น) และปิดทับด้วยผ้าก็อซแห้งหรือวัสดุที่ป้องกันการซึมผ่านได้อีกชั้นหนึ่ง
การรักษาตามอาการและผลกระทบจากการถูกทำลายของอวัยวะนั้นๆ เช่น ตับไตม้าม
การผ่าตัด
การบาดเจ็บกระดูกเชิงกราน
อาการ
มีแผลที่ทวารหนักหรือช่องคลอด,เลือดออกทางเดินปัสสาวะ,คลำกระเพาะปัสสาวะได้,ตรวจทางทวารหนักคลำตำแหน่งของต่อมลูกหมาก,คลำได้ชิ้นกระดูกหรือเลือดคั่งจากการตรวจทางทวารหนักเรียกว่า Earle’s sign
มีเลือดออกหลังเยื่อบุช่องท้อง(retroperitoneal hematoma) โคนขาจะขยายออกทั้งสองข้าง (เลือดไหลเซาะลงมาใต้ inguinal ligament) หรือ เลือดคั่งในถุงอัณฑะ(จาก uroginital diaphragm ฉีกขาด) เรียกว่า Destor’s sign
การรักษา
.
วัดสัญญาณชีพ ประเมินการสูญเสียเลือดอย่างรุนแรง
ให้สารน้ำทดแทน เพื่อรักษาปริมาตรของสารน้ำในระบบไหลเวียนอย่างรวดเร็ว
การ Reduction และ Stabilization ทำ External fixator
การผ่าตัดผูกหลอดเลือด
การบาดเจ็บระบบทางเดินปัสสาวะ
การตรวจร่างกาย
.
การดู : รอยจ้ำเลือดบริเวณบั้นเอวหน้าท้องหรือบริเวณฝีเย็บ เลือดออกบริเวณรูเปิดของทางเดินปัสสาวะ
การฟัง : เสียง bruits
การเคาะ : เคาะหากระเพาะปัสสาวะ เคาะหน้าท้องทั่วไปว่าทึบหรือไม่
การคลำ : การกดเจ็บและแข็งเกร็งบริเวณบั้นเอว วัดรอบท้องตรวจดูภาวะท้องอืด คลำหาก้อนบริเวณท้องและบั้นเอวและอาจพบการไหลออกของปัสสาวะหรือเลือด(extravasation)ตรวจทวารหนักเพื่อดูตำแหน่งของต่อมลูกหมาก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
.
BUN และCreatinine
CBC
การตรวจพิเศษ
Plain KUB (X-ray), Intravenous pyelography Retrograde pyelography
การรักษา
การใส่ท่อระบายกระเพาะปัสสาวะ
ผ่าตัดซ่อมแซมส่วนที่แตกและล้างน้ำปัสสาวะที่ เข้าไปอยู่ในช่องท้องออกให้สะอาด
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะอวัยวะล้มเหลวหลายระบบ
.
1.ประเมินอาการแสดงของภาวะล้มเหลวหลายระบบ เช่น SIR
ส่งเสริมการไหลเวียนเลือดอย่างเพียงพอ
.
2.1 เฝ้าระวังให้การไหลเวียนเลือดไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเพียงพอ
2.2 ดูแลให้สารน้ำไม่เกิน wedge> 18 mmHg ถ้าซีดต้องให้เลือด
2.3. ดูแลให้ยา vasopressor และ inotropic drug เพื่อรักษา perfusion pressure ของผู้ป่วย
2.4 ดูแลให้ยา diuretics และ Dopamine
2.5 ดูแลให้ sodium bicarbonate เพื่อรักษาภาวะความเป็นกรด
3.ให้ออกซิเจนอย่างเพียงพอ
.
3.1 อาจใช้เครื่องช่วยหายใจ mode PEEP
3.2 ทำทางเดินหายใจให้โล่ง โดยการดูดเสมหะ
3.3 ฟังเสียงปอด และติดตามผล chest x ray
3.4 ดูแลให้ยาขยายหลอดลม
ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
.
4.1 ดูแลให้ยาปฏิชีวนะ ยาลดไข้และสังเกตผลข้างเคียงของยา
4.2 ส่งตรวจและติดตามผลเพาะเชื้อ เลือด ปัสสาวะ เสมหะ และสารคัดหลั่ง
4.3 ใช้หลัก aseptic technigue
ดูแลให้สารอาหารอย่างเพียงพอ ติดตาม bowel sound และนน.ตัวทุกวัน
นางสาวณัฐวดี สมบูรณ์ เลขที่ 26 รหัสนักศึกษา 612501028