Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน, นางสาวอทิตยา พรประเสริฐ เลขที่72 - Coggle…
กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน
1. ขั้นการประเมินภาวะสุขภาพชุมชน (Community Assessment)
1.1 การรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
รายละเอียดของข้อมูลที่ต้องรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย
ข้อมูลด้านสุขภาพเช่นอัตราเกิดอัตราตายอัตราอุบัติการณ์อัตราป่วยของโรคต่างๆการสูบบุหรี่การตรวจคัดกรองโรค
ข้อมูลด้านพฤติกรรมสุขภาพ: การรับประทานอาหารการออกกำลังกายการดื่มสุรา
ข้อมูลประชากรเช่นอายุเพศสถานะภาพสมรสการศึกษาอาชีพรายได้
ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมะขยะน้ำส้วมพาหะนำโรคเช่นยุงลาย
ข้อมูลทั่วไปของชุมชนเช่นประวัติชุมชนที่ตั้งอาณาเขตสภาพภูมิประเทศแหล่งประโยชน์ชุมชนวิถีชุมชนข้อมูลทางเศรษฐกิจสังคมผู้นำชุมชน
ข้อมูลด้านการบริการสุขภาพเช่นระบบบริการสุขภาพคุณภาพคลินิกร้านขายยาหมอพื้นบ้านการใช้สมุนไพร
เครื่องมือวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล (Methods / Tools)
การวัดและประเมิน (Measurement)
การทดสอบ (Test)
การใช้แบบสอบถาม (Questionnaire)
การสัมภาษณ์ / สัมภาษณ์เชิงลึก
การสำรวจ (Survey)
การสนทนากลุ่ม
การสังเกต (Observation)
ชนิดของข้อมูล (Type of Data)
ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data)
รวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่มีอยู่แล้ว: Published data and data collected in the past or other parties such as Family Folder, Database ข้อดีไม่สิ้นเปลืองกำลังคนหรือค่าใช้จ่ายข้อเสียอาจไม่ได้ข้อมูลครบถ้วนตามที่ต้องการ
ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data)
รวบรวมข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลโดยตรง Data observed or collected directly from first-hand experience ข้อดีได้ข้อมูลครบตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการทันสมัยข้อเสียเสียเวลางบประมาณ
การกำหนดกลุ่มเป้าหมาย
ประชากรทั้งหมด (Census)
การสุ่มตัวอย่าง (Random Sampling)
1.2 การวิเคราะห์ข้อมูล
1.ข้อมูลเชิงปริมาณ
Descriptive Stat.
ข้อมูลทั่วไปส่วนบุคคลเช่นอายุเพศการศึกษา อาชีพ รายได้ : Percentage, Mean and SD.
ข้อมูลด้านสุขภาพอัตราเกิด อัตราตาย อัตราความชุก อัตราอุบัติการณ์
Inferential Stat
T-Test
Chi-Square etc.
2.ข้อมูลเชิงคุณภาพ
การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ( Content Analysis)
1.3 การนำเสนอข้อมูล
หลักการนำเสนอ
กระชับ
น่าสนใจ
ถูกต้อง
เข้าใจง่าย
วิธีนำเสนอ
การนำเสนอโดยปราศจากแผนที่
การนำเสนอเป็นบทความ
การนำเสนอเป็นบทความกิ่งตาราง
การนำเสนอโดยมีแบบแผน
การนำเสนอด้วยกราฟ
ฮีสโตรแกรม
รูปหลายเหลี่ยมแห่งความถี่
กราฟเส้น
การนำเสนอด้วยแผนภูมิ
3 แผนภูมิภาพ
4 แผนภูมิทางภูมิศาสตร์
แบบเข็มหมุดแผนที่
แบบแรเงาหรือระบายสี
แผนที่แบบจุดแผนที่
2 แผนภูมิกงหรือวงกลม
5 แผนภูมิเพื่อจุดประสงค์พิเศษ
แผนภูมิองค์การ
แผนภูมิการไหลเวียน
1.แผนภูมแท่ง
แผนภูมิแท่งซับซ้อน
แผนภูมิแท่งเชิงประกอบ
แผนภูมิแท่งเชิงเดี่ยว
แผนภูมิแรเงาซ้อนเหลื่อมกัน
การนำเสนอเป็นตาราง
ตารางสองลักษณะ (ตารางสองทาง)
ตารางซับซ้อน
ตารางลักษณะเดียว (ตารางทางเดียว)
2. ขั้นการวินิจฉัยชุมชน (Community Diagnosis)
1. การระบุปัญหา
5D: Dead, Disability, Disease, Discomfort, Dissatisfaction
ประชาชนป่วยโรคพยาธิใบไม้ในตับ 27 / 1,000 ประชากร
กระบวนการกลุ่ม (Nominal Group Process)
-ประชาชนในชุมชนมีปัญหาเรื่องการไม่ปฏิบัติตัวเพื่อป้องกัน COVID 19 อย่างเคร่งครัดเช่นการใส่หน้ากากอนามัยการ์เว้นระยะห่างทางสังคม
ใช้เกณฑ์ตัวชี้วัดด้านสุขภาพ: เช่นตัวชี้วัดการดำเนินงานด้านสุขภาพของกระทรวงของจังหวัดเกณฑ์จปฐ เป็นต้น
-ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรค DM HT ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90-ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (House Index) ไม่เกินร้อยละ 10
2. การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
วิธีการจัดลำดับความสำคัญ
สมาคมสาธารณสุขอเมริกา (American Public Health Associated)
ความสามารถในการแก้ปัญหาของผู้ที่เกี่ยวข้อง
ความต้องการความรู้เฉพาะที่จะนำมาแก้ปัญหานั้น
จำนวนทรัพยากรที่มีอยู่สำหรับการแก้ปัญหานั้น
จำนวนทรัพยากรที่เกี่ยวข้องที่จำเป็นสำหรับการแก้ปัญหา
ระดับความตระหนักในปัญหาของกลุ่ม
รองศาสตราจารย์นายแพทย์ ไพบูลย์ โล่สุนทร
ความชุกของโรค (prevalence)
โรคนั้นป้องกันได้ (preventability)
อุบัติการณ์ของโรค (incidence)
โรคนั้นรักษาหายได้ (treatability)
การสูญเสียทางเศรษฐกิจ (economic loss)
ทรัพยากรทางด้านอนามัยและอื่น ๆ (health and other resources)
ความรุนแรงของโรค (virulence of disease)
ความเกี่ยวข้องและความร่วมมือของชุมชน (community concern and participation)
จอห์นแฮนลอนและขอร์ทพิคเล็ท (Hanlon and Pickett)
ประสิทธิผลของการปฏิบัติการแก้ปัญหา
ฐานะเศรษฐกิจการยอมรับทรัพยากรและกฎหมาย
ความรุนแรงของปัญหา
จริยวัตร คมพยัคฆ์
ความยากง่ายในการแก้ปัญหา
ด้านระยะเวลา
ด้านกฎหมาย
ด้านวิชาการ
ด้านศีลธรรม
ด้านบริหาร
ความวิตกกังวลต่อปัญหาของชุมชน
องค์ประกอบด้านสุขภาพอนามัย
ความรุนแรงของปัญหา
ขนาดของปัญหา
การให้คะแนนการจัดลำดับความสำคัญ
ความรุนแรง
2 = เจ็บป่วยเรื้อรังสูญเสียเงินรักษามาก
3 = เกิดความพิการทุพพลภาพ
1 = มีภาวะเสี่ยงเจ็บป่วยเล็กน้อยรักษาหาย
4 = ตาย
ความยากง่าย
2 = ปัญหานั้นแก้ไขได้ยาก
3 = ปัญหานั้นแก้ไขได้ง่าย
1 = ปัญหานั้นแก้ไขได้ยากมาก ๆ
4 = ปัญหานั้นแก้ไขได้ง่ายมาก ๆ
ขนาดของปัญหา
2 = ขนาดของปัญหามากกว่า 25-50
3 = ขนาดของปัญหามากกว่า 50-75
1 = ขนาดของปัญหามากกว่า 0-25
4 = ขนาดของปัญหามากกว่า 75-100
ความวิตกกังวลของปัญหา
2 = จำนวนประชาชนที่มีความกังวลต่อปัญหามากกว่า 25-50
3 = จำนวนประชาชนที่มีความกังวลต่อปัญหามากกว่า 50-75
1 = จำนวนประชาชนที่มีความกังวลต่อปัญหา 0-25
4 = จำนวนประชาชนที่มีความกังวลต่อปัญหามากกว่า 75 -100
3. การระบุสาเหตุและทำโยงใยสาเหตุของปัญหา
ชนิดของสาเหตุ (Type of Causation)
สาเหตุทางตรง
สาเหตุทางอ้อม
ชนิดของโยงใยสาเหตุของปัญหา (Type of web of causation)
โยงใยสาเหตุทางทฤษฎี (Theoretical Web of causation)
โยงใยสาเหตุที่เกิดขึ้นจริง (Causal Web of causation)
กระบวนการอนามัยชุมชนกับการวินิจฉัยชุมชนและแก้ไขปัญหา
ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน
การวางแผนแก้ไขปัญหา (planning)
การปฏิบัติตามแผนที่วางไว้ (implementing)
การวินิจฉัยชุมชน (community diagnosis)
การประเมินผล (evaluating)
1 การประเมินชุมชน (community assessment)
การเตรียมชุมชน
สร้างสัมพันธภาพกับชุมชนโดยการแนะนำตนเองทำความรู้จักกับผู้นำชุมชนประชาชนแจ้งบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของตนที่มีต่อชุมชน
ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการจัดบริการขั้นตอนการดำเนินงานระยะเวลาและประโยชน์ที่ชุมชนจะได้รับ
นางสาวอทิตยา พรประเสริฐ เลขที่72