Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย, นางสาวจุฑามาศ โยระภัตร 6001210972 เลขที่…
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
ลักษณะและประเภทของกฎหมาย
ลักษณะของกฎหมาย
กฎหมายต้องกำนดขึ้นโดยรัฐหรือผู้มีอำนาจ
กฎหมายต้องบังคับใช้โดยทั่วไป บุคคลต้องอยู่ภายใต้กฎหมายโดยเสมอภาค จะมีใครอยู่เหนือกฎหมายไม่ได้
กฎหมายต้องมีลักษณะเ็นกฎเกณฑ์ เป็นข้อบังคับกำหนดพฤติกรรมว่าถูกหรือผิด ทำได้หรือไม่ได้
กฎหมายต้องมีสภาพบังคับ ในกรณีที่มีการฝ่าฝืนกฎหมาย หากเกณฑ์ใดไม่มีสภาพบังคับก็ไ่ถือว่าเป็นกฎหมาย
สภาพบังคับที่มีผลร้าย
จำคุก
ประหารชีวิต
ปรับ ในกรณีเด็กและเยาวชนไม่ชำระค่าปรับ จะกักขังแทนค่าปรับไม่ได้ แต่ให้ส่งตัวไปเพื่อควบคุมและอบรมตามที่ศาลกำหนด แต่ต้องไม่เกิน 1 ปี
กักขัง
ริบทรัพย์
สภาพบังคับที่มีผลดี
กรณีจดทะเบียนสมรส ทำให้บุตรเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฏหมาย สามารถใช้สิทธิของคูาสมรสไปลดหย่อนภาษีได้
ระบบของกฎหมาย
ระบบกฎหมายจารีตประเพณี หรือระบบกฎหมานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
พิจารณาพิพากษาคดีที่อาศัยบรรทัดฐานจากสดีที่คล้ายคลึงกัน
ระบบกฎหมายลายลักษณ์อักษร หรือระบบประมวลกฎหมาย
ศาลพิพากษาตามตัวบทกฎหมาย
ประเภทของกฎหมาย
กฎหมายเอกชน เอกชนร่วมกับรัฐและรัฐวิสาหกิจดำเนินธุรกิจแบบเอกชน
กฎหมายแพ่ง
วิถีชีวิตประจำวันของประชาชน บัญญัติถึงฐานะของบุคคล ครอบครัว มรดก หนี้สิน และกรรมสิทธิ์ในทรับสินต่างๆ
กฎหมายพานิชย์
เกี่ยวกับการค้าขาย
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
กระบวนการพิจารณาข้อพิพาททางแพ่ง
อื่นๆ
เช่น พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ กฎหมายแรงงาน เป็นต้น
กฎหมายระหว่างประเทศ ขนบธรรมเนียมประเพณี ข้อตกลงหรือสนธิสัญญาระหว่างประเทศ
แผนกคดีบุคคล
เช่น เชื้อชาติ ภูมิลำเนา การสมรส การทำนิติกรรม
แผนกคดีอาญา
การกระทำผิดต่อเนื่องหลายๆประเทศ การส่งผู้ร้ายข้ามแดน
แผนกคดีเมือง
ในเรื่องเขตแดน การฑูต การทำสนธิสัญญา หรือข้อพิพาท
กฎหมายมหาชน รัฐเป็นฝ่ายปกครองที่มีอำนาจเหนือกว่าประชาชน
กฎหมายปกครอง
รองจากรํฐธรรมนูญ
กฎหมายอาญา
บัญญัติเกี่ยวกับการกระทำผิดและบทลงโทษ
กฎหมายรัฐธรรมนูญ
เป็นกฎหมายแม่บทและกฎหมายสูงสุด
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ว่าด้วยกระบวนการดำเนินคดี
ธรรมนูญศาลยุติธรรม
บัญญัติถึงการจัดตั้งศาล
การแบ่งกฎหมาย
กฎหมายที่แบ่งโดยลักษณะการใช้กฎหมาย
กฎหมายสารบีญญัติ
กำหนดสิทธิหรือหน้าที่ที่ให้บุคคลปฏิบัติ
กฎหมายวิธีสบัญญัติ
เกี่ยวกับวิธีการพิจารณาคดีของศาล
กฎหมายที่แบ่งโดยเจตนารมณ์และเนื้อหาของกฎหมาย
กฎหมายที่แบ่งโดยแหล่งกำเนิดของกฎหมาย
กฎหมายภายใน
องค์ของรัฐบัญญัติขึ้นใช้ภายในประเทศ
กฎหมายภายนอก
องค์การระหว่างประเทศ
กฎหมายที่แบ่งโดยสภาพบังคับทางกฎหมาย กฎหมายแพ่ง กฎหมายอาญา กฎหมายปกครอง เป็นต้น
ลำดับชั้นหรือศักดิ์ของกฎหมาย
กฎกระทรวง
ออกโดยฝ่ายบริหาร ไม่ต้องผ่านรัฐสภา แต่ต้องผ่านคณะรัฐมนตรี
ระเบียบและข้อบังคับ
ออกโดยหัวหน้าหน่วยงานองค์กร
พระราชกฤษฎีกา
กำหนดรายละเอียดที่เป็นหลักย่อยของพระราชบัญญัติหรือพระราชกำหนด ไม่ต้องผ่านฝ่ายนิติบัญญัติ ใช้บังคับประชาชนทั่วไป แต่ไม่สามรถมีบทกำหนดโทษ
ประกาศและคำสั่ง
ออกโดยหัวหน้าหน่วยงาน
พระราชบัญญัติ
ประมวลกฎหมาย การรวบรวมบทบัญญัติของกฎหมายในเรื่องเดียวกันให้มาอยู่ในหมวดเดียวกันอย่างเป็นระบบ
พระราชกำหนด รัฐธรรมนูญมอบอำนาจให้แก่ฝ่ายบริหาร บังคับใช้กรณีฉุกเฉินที่มีคว่มจำเป็นเร่งด่วน เพื่อความปลอดภัยของประเทศ
พระราชบัญญัติ ออกโดยฝ่ายนิติบัญญัติหรือรัฐสภา นายกรัฐมนตรีนำทูลเกล้า เพื่อให้พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย
อื่นๆ
ข้อบังคับท้องถิ่น ออกโดยองค์กรปกครองตนเอง
รัฐธรรมนูญ
มีศักดิ์สูงสุด กฎหมายอื่นขัดแย้งไม่ได้
ลักษณะของระบบศาลไทย
ระบบศาลของไทย
เป็นระบบศาลคู่ มีผู้พิพากษาหรือตุลาการของแต่ละศาลโดยเฉพาะ ย้ายตำแหน่งไม่ได้
ระบบศาลในต่างประเทศ
ระบบศาลเดี่ยว
ศาลยุติธรรมมีอำนาจชี้ขาดข้อพิพาททุกประเภท
ระบบศาลคู่
ศาลยุติธรรมชี้ขาดเฉพาะคดีแพ่งและคดีอาญา ศาลปกครองชี้ขาดคดีปกครอง
ศาลของประเทศไทย
ศาลยุติธรรม
พิพากษาคดีทั้งปวง เว้นแต่คดีรัฐธรรมนูญ
ศาลชั้นต้น
พิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดีในชั้นแรก
ศาลอุธรณ์
พิจารณาตัดสินคดีที่ศาลชั้นต้นได้ตัดสินไปแล้ว แต่คู่คสวามยังต้องการความเป็นธรรม หากยังไม่พอใจ สามารถยื่นฎีกาต่อได้
ศาลฎีกา
เป็นศาลยุติธรรมสูงสุด ถือเป็นที่สุดหรือเป็นคดีแดง คู่กรณีไม่สามารถนำกลับมาฟ้องร้องได้
ศาลปกครอง
มีฐานะเทียบเท่าศาลยุติธรรม พิจารณาพิพากษาคดีในทางปกครอง ใช้ระบบไต่สวน ที่ศาลเป็นผู้ค้นหาความจริงด้วยตนเอง
ศาลรัฐธรรมนูญ
พิจารณาวินิจฉัยปัญกาข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับรัฐธรรมนูญ แต่ไม่มีอำนาจหน้าที่พิจารณาอรรถคดีทั่วไป
ศาลทหาร
ชำระความเกี่ยวข้องกับทหารและยังชำระความพลเรือนด้วย รวมถึงพิพากษาคดีที่ทหารกองประจำการกระทำผิด
ความหมายของกฎหมาย
กฎที่สถาบันหรือผู้มีอำนาจสูงสุดในรัฐตราขึ้น เพื่อใช้ในการบริหารประเทศ
ระเบียบ กฎเกณฑ์ ข้อบังคับ เพื่อควบคุมความประพฤติ/พฤติกรรมของมนุษย์ หากผู้ใดฝ่าฝืนย่อมต้องได้รับโทษตามที่กฎหมายกำหนด
นางสาวจุฑามาศ โยระภัตร 6001210972 เลขที่ 44 Sec.A