Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดครอบครัวและการพยาบาลครอบครัว, 4.2.การเผชิญปัญหาภายนอกครอบครัว -…
แนวคิดครอบครัวและการพยาบาลครอบครัว
ความหหมายครอบครัว
1.ทางชีววิทยา มองครอบครัวเป็นกลุ่มชนที่มีความผูกพันกันทางสายโลหิต
2.ทางเศรษฐศาสตร์ เป็นกลุ่มคนที่ใช้จ่ายเงินจากงบประมาณเดียวกันถึงแม้อาศัยอยู่ต่างที่กัน
3.ทางสังคมศาสตร์ เป็นกลุ่มที่อยู่ร่วมเคหะสถานเดียวกัน สนใจสารทุกข์สุขดิบซึ่งกันและกัน
4.ทางนิติศาสตร์ ครอบครัวที่ชายหญิงจดทะเบียนถูกต้องทางกฎหมายซึ่งครอบคลุมถึงบุตรและบุตรบุญธรรม
หน้าที่ของครอบครัว
1.หน้าที่ด้านความรักความเอาใจใส่(Affective function)
2.หน้าที่ในการอบรมเลี้ยงดู(Socialization function)
3.หน้าที่ในการผลิตสมาชิกใหม่(Reproductive function)
4.1.การเผชิญปัญหาภายในครอบครัว
4.1.1.การให้ความเชื่อถือไว้วางใจในระหว่างสมาชิกครอบครัว
4.1.2.การป่อนคลายสถานการณ์โดยใช้อารมณ์ขัน
4.1.3.การที่สมาชิกร่วมกันแล้วแก้ปัญหาครอบครัว
4.1.4.การพัฒนาสมาชิกให้เข้มแข็งเพื่อให้แต่ละคนมีความสามารถแก้ไขปัญหาได้ดียิ่งขึ้น
4.2.1.สมาชิกหาข้อมูลข่าวสารต่างๆเพิ่มขึ้น เพื่อประกอบการพิจารณาแก้ปัญหา
4.2.2.การที่สมาชิกติดต่อกับชุมชน เพื่อนบ้าน ญาติเพิ่มขึ้น มีการใช้ประโยชน์จากเครื่อข่ายสังคม
4.2.3.การที่ครอบครัวใช้แหล่งประโยชน์ในระบบสังคมโดยรวม
4.หน้าที่การเผชิญปัญหาของครอบครัว
5.หน้าที่ในการจัดการทรัพยากรทางเศรษฐกิจ
6.หน้าที่ในการจัดหาสิ่งจำเป็นพื้นฐานทางกายภาพสำหรับสมาชิก
บทบาทหน้าที่ของพยาบาลในการให้การพยาบาลครอบครัว
1.ผู้ให้บริการ(Health care provider)
การประเมินภาวะสุขภาพ การประเมินผลบริการที่ให้แก่ผู้รับบริการสุขภาพที่บ้านทั้งแก่บุคคล ครอบครัวและชุมชน
การวางแผนการดูแลหรือการพยาบาลทั้งระยะสั้นและระยาว
2.ผู้ให้ความรู้(Health educator)
ให้ความรู้ด้านสุขภาพอนามัยทั้งแบบทางการและไม่เป็นทางการ
แนะนำกระตุ้นสนับสนุนให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
ดัดแปลงประยุกต์ใช้อุปกรณ์ต่างๆเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถใช้ชีวิตได้ปกติ
3.ผู้ให้คำปรึกษาแก้ปัญหาต่าง(Health conselor)
ให้คำปรึกษาแก่ผู้รับบริการเกี่ยวกับภาวะสุขภาพและปัญหาอื่นๆ
4.เป็นตัวอย่าง(Role model)
5.เป็นผู้รักษาผลประโยชน์หรือสิทธิของผู้รับบริการ(Client Advocate)
6.เป็นผู้ร่วมงาน(Collaborator)
7.ผู้ประสานงาน(Coordinator)
8.เป็นผู้วางแผนจำหน่ายผู้ป่วย(Discharge Planner)
9.เป็นผู้สนับสนุน(Supporter)
10.เป็นผู้ค้นหาผู้ป่วย(Case Finder)
11.เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Change Agent and Leader)
12.เป็นนักวิจัย(Researcher)
1.ตามโครงสร้างครอบครัว
1.1. ครอบครัวเดี่ยว (Nuclear Family) คือ ครอบครัวที่ประกอบด้วย สามี ภรรยาและบุตร
1.2.ครอบครัวขยาย(Extended family) ครอบครัวที่รวมญาติด้วยกันในบ้านเดียวกัน
หลักการให้การพยาบาลครอบครัว
2.มุ่งเน้นการเสริมสร้างสุขภาพครอบครัว
3.สร้างเสริมศักยภาพและสร้างพลังอำนาจทั้งในสมาชิกและครอบครัว
1.เน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลางของการดูแล
4.ส่งเสริมให้มีเครือข่ายในการร่วมดูแลและช่วยเหลือครอบครัว
2.จำแนกตามที่อยู่อาศัยของคู่สมรส
2.2.สมรสแล้วย้ายไปอยู่ครอบครัวฝ่ายหญิง
2.3.สมรสแล้วย้ายไปอยู่ต่างหาก
2.1.สมรสแล้วย้ายไปอยู่ครอบครัวฝ่ายชาย
3.จำแนกตามความเป็นใหญ่
3.2.ครอบครัวที่มารดาหรือภรรยาเป็นใหญ่ในครอบครัว
3.3.ครอบครัวที่สามีและภรรยามีความเป็นใหญ่เท่าเทียมกัน
3.1.ครอบครัวที่บิดาหรือสามีเป็นใหญ่ในครอบครัว
4.จำแนกตามความสัมพันธ์ทางสายโลหิต
4.1.การสืบสายเลือดทางฝ่ายบิดา บุตรที่เกิดมาต้องเป็นสมาชิกฝ่ายบิดา
4.2.การสืบสายเลือดทางฝ่ายมารดา บุตรที่เกิดมาต้องเป็นฝ่ายมารดา
4.2.การเผชิญปัญหาภายนอกครอบครัว