MERs-CoV
สาเหตุ
อาการ
การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฎิบัติการ/การตรวจพิเศษ
คำแนะนำ
การวางแผนทางการพยาบาล
Medicine
Environment
Treatment
Health
Ceftriaxone
ยาปฏิชีวนะ ช่วยในการฆ่าเชื้อเเบคทีเรีย จะฉีดให้ทุกๆ6ชั่วโมงโดยจะฉีดให้ครบ 7วัน
Ibuprofen
รับประทานหลังอาหารครั้งละ1เม็ด วันละ2ครั้ง เช้า-เย็น รับประทานเมื่อมีอาการ ถ้าหากไม่มีอาการแล้วควรหยุดรับประทาน ช่วยในการลดอาการปวดเมื่อย ลดไข้
Metoclopramide
ยาบรรเทาอาการคลื่นไส้อาเจียน ให้ฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำตามความจำเป็น
Outpatient
Diagnosis
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับโรคว่าเป็นโรคระบบทางเดินหายใจ เกิดจากเชื้อMERS-Cov
ให้นอนแยกกับคนในครอบครัวและแยกของใช้ส่วนตัว
สอนวิธีการล้างมือที่ถูกต้องให้ผู้ป่วยและญาติทำตาม
บริเวณบ้านควรเปิดหน้าต่างให้มีอากาศถ่ายเท
ให้ ผู้ป่วยอยู่ในห้องแยกที่มีความดันลบเพื่อช่วยป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อ
มีการถ่ายภาพปอด,เก็บเสมหะและเจาะเลือดเพื่อดูการแพร่กระจายของเชื้อและภาวะการติดเชื้อในกระแสเลือด
แนะนำให้ออกกำลังกายที่ใช้แรงน้อย เช่น การเดิน แกว่งแขน
นอนหลับให้เพียงพออย่างน้อย7-8ชั่วโมง
แนะนำให้ผู้ป่วยมาตรวจตามนัดเพื่อติดตามผลการรักษา
ถ้าไม่สามารถมาตามนัดได้ควรโทรแจ้งล่วงหน้า
หากมีอาการผิดปกติสามารถกลับมาพบแพทย์ได้ทันที
Diet
รับประทานอาหารอ่อนเหลวเช่น โจ๊กไก่ ข้าวต้มไก่
รับประทานเกลือแร่เพื่อป้องกันอาการท้องเสีย
พยาธิสรีรวิทยา
หากระบบภูมิคุ้มกันไม่สามารถสู้กับไวรัสได้ ไวรัสจะแพร่กระจายไปทั่วร่างกายถึงขั้นที่อวัยวะต่างๆไม่สามารถทำงานต่อไปได้ จึงทำให้เสียชีวิต
เมื่อระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายไม่สามารถควบคุมการทำงานของตัวเองได้ จะเกิดภาวะช็อกจากการติดเชื้อในกระแสเลือด ความดันโลหิตต่ำจนอวัยวะไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ
เมื่อไวรัสแพร่ไปที่ปอด จะทำให้เกิดปอดอักเสบ ส่งผลให้การแลกเปลี่ยนแก๊สออกซิเจนได้ไม่ดี เกิดอาการหายใจไม่อิ่ม
ไวรัสแพร่เข้าสู่GI tract ทำให้เซลล์ทำงานผิดปกติ เกิดอาการท้องเสีย คลื่นไส้อาเจียน หรือปวดท้อง
ร่างกายหลั่ง Cytokines แล้วจะทำให้เกิดอาการไข้และไอ
หลังจากร่างกายได้รับเชื้อ MERs-CoV เชื้อจะแพร่ไปตามเยื่อบุคอ ท่อทางเดินหายใจและปอดจากนั้นไวรัสจะเริ่มแบ่งตัว
รับเชื้อจากสัตว์
รับเชื้อจากมนุษย์
อูฐที่มีหนอกเดียวนั้นเป็นสัตว์ที่เต็มไปด้วยการสะสมของโรค MERs-CoV
ถ้าอยู่ห่างจากผู้ป่วย 2 เมตรขึ้นไป จะติดเชื้อจากการสูดฝอยละอองขนาดเล็ก
เป็นพาหะของการติดเชื้อโรคสู่มนุษย์
มีอาการไอ มีไข้สูงสูงมากกว่า 38 องศาเซลเซียสและหายใจลำบาก หอ หายใจเร็ว SpO2 น้อยกว่าร้อยละ 90 บางอาการไม่มีอาการแสดงเหมือนเป็นโรคหวัดและหายเป็นปกติ
การสูดดมเชื้อในอากาศผ่านทางฝอยละอองขนาดใหญ่(droplet)และฝอยละอองขนาดเล็ก(เล็กกว่า 5ไมครอนเรียกว่า aerosol)เข้าไปในทางเดินหายใจ ถ้าใครอยู่ใกล้ผู้ป่วยในระยะ 1-2 เมตรจะติดเชื้อจากการสูดฝอยละอองขนาดใหญ่และฝอยละอองขนาดเล็กจากการไอจามรดกันโดยตรง
Neutrophils
Lynphocytes
Chest X-Ray
ผู้ป่วยบางรายอาจมีอาหารในระบบทางเดินอาหารร่วด้วย เช่นท้องเสีย มวนท้อง คลื่นไส้อาเจียน เป็นต้น ในผู้ป่วยที่มีอาการแสดงของโรครุนแรงอาจเกิดภาวะปอดบวมหรือไตวายได้
การแพร่เชื้อโดยการสัมผัส เช่น การจับมือกันหรือ
มือจับของใช้สาธารณะร่วมกัน
ผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันอ่อนแอจะมีอัตราเสี่ยงในการติดเชื้อสูงกว่าคนทั่วไปและจะมีแนวโน้มที่จะมีอาการรุนแรง ผู้ป่วยร้อยละ 30 ที่เสียชีวิตมักมีสภาวะอื่นร่วมด้วย เช่น โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง หรือมีโรคเรื้อรังที่เกี่ยวข้องกับหัวใจ ปอด หรือไต เป็นต้น
อาการเริ่มแรกคือมีไข้, ไอและหายใจถี่อาจทำให้เกิดอาการปอดบวมภาวะหายใจลำบากและบางครั้งไตวาย รายงานอาการท้องร่วง
White blood cells
RT-PCR
Hemoculture
เพศชายที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปที่มีโรคประจำตัวเช่นโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูงและภาวะไตวายมีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรครุนแรงรวมถึงการเสียชีวิต ประมาณร้อยละ 20 ของผู้ป่วยไม่มีอาการหรือมีโรคไม่รุนแรง
สูงกว่าปกติ เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาของร่างกายที่ตอบสนองต่อการติดเชื้อโดยร่างกาย ผลิตเม็ดเลือดขาวมากขึ้นเพื่อต่อสู้กับอาการติดเชื้อไวรัส MERs-CoV
สูงกว่าปกติเนื่องจากร่างกายมีการติดเชื้อไวรัส MERs-CoV
สูงกว่าปกติ เกิดจากร่างกายมีการติดเชื้อแบคทีเรีย
เป็นการตรวจสารพันธุกรรมของไวรัสด้วยวิธี Real-time RT - PCR จากสารคัดหลั่งของผู้ป่วย เป็นวิธีที่องค์การอนามัยโลกแนะนำและประเทศไทยพร้อมใช้อยู่ในปัจจุบันสามารถทราบผลภายใน 3-5 ชั่วโมง และสามารถตรวจจับเชื้อไวรัสในปริมาณน้อยๆได้
Hemoglobin
ต่ำกว่าปกติอาจเกิดจากภาวะโลหิตจางจากพยาธิสภาพของปอดอักเสบ
เป็นเพาะเชื้อเพื่อตรวจหาเชื้อจากเลือดนิยมเจาะเลือดใส่ในอาหารเลี้ยงเชื้อชนิดเหลวโดยตรงและเจาะก่อนคนไข้ได้Antibiotic สามารถบอกชนิดเชื้อและผลการทดสอบความไวของยา ซึ่งจะช่วยสนับสนุนหรือเปลี่ยนแปลงการรักษาให้ถูกต้อง
ปอดทั้งสองข้างมีฝ้าขาว ฝ้าขาวที่ปอดเกิดจากการมีเสมหะในปอด ซึ่งเสมหะที่เกิดขึ้นเกิดจากการที่เชื้อไวรัส MERs-CoV ไปก่อพยาธิสภาพที่ปอด
พบเชื้อไวรัสโคโรน่า โดยตรวจจากสารคัดหลั่งของผู้ป่วย
4.อุณหภูมิร่างกายสูงกว่าปกติเนื่องจากมีการติดเชื้อที่ปอด
5.เสี่ยงต่อการขาดสารอาหารเนื่องจากรับประทานอาหารได้น้อย
3.เสี่ยงต่อการขาดน้ำเนื่องจากอุจจาระร่วง
6.แบบแผนการนอนหลับเปลี่ยนแปลงเนื่องจากอาการไอ
2.เสี่ยงต่อภาวะเเพร่กระจายเชื้อเนื่องจากมีการติดเชื้อที่ปอด
8.เสี่ยงต่อภาวะเครียดเนื่องจากโรคที่เป็นอยู่
9.การรับกลิ่นลดลงเนื่องจากมีน้ำมูก
7.พร่องกิจวัตรประจำวันเนื่องจากขาดความสามารถในการช่วยเหลือตนเอง
- สังเกตอาการและอาการแสดง
- ดูแลให้สารน้ำและอีเล็คโทรไลท์ตามแผนการรักษา
- วัดสัญญาณชีพทุก 2 – 4 ชม.
- บันทึกปริมาณน้ำเข้า – ออกในร่างกาย
- ดูแลให้ ORS
- ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ ( electrolyte ) หากผิดปกติ รายงานแพทย์
- ล้างจมูก
- ประเมิน พร้อมบันทึกข้อมูลหลังให้การพยาบาล
- วัดอุณหภูมิร่างกายทุก 4 ชั่วโมง
- เช็ดตัวลดไข้
- ให้ดื่มน้ำบ่อย ๆ เพื่อช่วยในการพาความร้อนออกจากร่างกาย
- ดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายและสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ
- แนะนำการเทคนิคการผ่อนคลาย
- ดูแลสิ่งแวดล้อม
- ให้ผู้ป่วยได้พูดคุย ระบายความรู้สึก
- ประเมิน พร้อมบันทึกข้อมูลหลังให้การพยาบาล
- จัดผู้ป่วยอยู่ในห้องเเยกโรคความดันลบ
- จัดอุปกรณ์แยกใช้เฉพาะผู้ป่วย
- ดูแลอุปกรณ์ที่ใช้เเล้วกับผู้ป่วย
- จำกัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
- ส่งเสริมให้ร่างกายได้รับอาหารพอเพียง
- เริ่มให้อาหารควรให้อาหารที่เป็นน้ำหรืออาหารเหลวก่อนอาหารหลัก
- สังเกตการเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีรภาพและพาวะแทรกซ้อน
- ประเมินและติดตามน้ำหนักตัว
- กระตุ้นให้มีกิจกรรมในเวลากลางวัน
- ดูแลให้มีการออกกำลังกายอย่างเพียงพอ
- เตรียมอุปกรณ์ไว้ขับถ่ายปัสสาวะหรือจัดที่นอนให้อยู่ใกล้ห้องน้ำ
- แนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวด้านจิตใจและอารมณ์
- ดูแลให้นอนและตื่นตรงเวลาเป็นประจำทุกวัน
- ดูแลจัดสิ่งแวดล้อม
- ไม่รบกวนผู้ป่วยบ่อย เช่น รวบกิจกรรมการพยาบาล
- ดูแลช่วยเหลือในการทำความสะอาดร่างกาย
- ดูแลเช็ดตัวและเปลี่ยนเสื้อผ้าทุกครั้งเมื่อมีการเปียกชื้น
- ดูแลทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์หลังจากการขับถ่ายทุกครั้ง
- ประเมินความสามารถในการทำกิจกรรมต่างๆ
- ประเมินพร้อมบันทึกข้อมูลหลังให้การพยาบาล
1.พร่องออกซิเจนเนื่องจากประสิทธิภาพในการขับเสมหะและพื้นที่แลกเปลี่ยนก๊าซลดลง
- ดูแลให้ได้รับออกซิเจน
- จัดท่า high fowler inflation
- ทำ relaxation breathing exercise
- กระตุ้นให้ดื่มน้ำอุ่น
- สอนการบริหารการหายใจ
- สังเกตอาการและอาการแสดง
- ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ Ceftriaxone 2 mg. IV q 6 hr. ตามแผนการรักษา
- ดูแลให้ได้รับยาแก้อักเสบ Ibuprofen (400 mg.) 1 X 2 tabs b.i.d. pc.ตามแผนการรักษา
- ประเมินสภาพร่างกายก่อนและหลังทำกิจกรรมทางการพยาบาล