Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลภาวะล้มเหลวหลายระบบ, image, image, image, นางสาวทัดดาว…
การพยาบาลภาวะล้มเหลวหลายระบบ
ความหมาย
กลุ่มอาการที่อวัยวะทำงานผิดปกติ ถึงขั้นล้มเหลวตั้งแต่ 2 ระบบขึ้นไป
อาการดำเนินโรค
หัวใจและหลอดเลือด
มีภาวะหัวใจล้มเหลว
เลือดไปเลี้ยงอัวยวะต่างๆไม่เพียงพอ
BP น้อยกว่าหรือเท่ากับ 49 mmHg
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
HR น้อยกว่าหรือเท่ากับ 50 ครั้ง/นาที
ใช้ยา Vesopressor เพื่อรักษา BP ให้มากกว่าหรือเท่ากับ 90 mmHg
ระบบหายใจ
Paco2 มากกว่าหรือเท่ากับ 50 mmHG
ต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ หรือ CPAP มากกว่า 3 วัน
RR น้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 หรือมากกว่าหรือเท่ากับ 49 ครั้ง/นาที
ระบบไต
BUN มากกว่าหรือเท่ากับ 100 มคก. / 100 มล.
จำเป็นต้องใช้การฟอกเลือด
cr มากกว่าหรือเท่ากับ 3.5 มคก./ 100 มล.
ปัสสาวะน้อยกว่าหรือเท่ากับ 479 มล/วัน
ระบบตับ
PT สูงขึ้น ร่วมกับมีค่า Total billrubin เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 2 เท่า และค่า AST เพิ่มขึ้น
ระบบเลือด
Pit. น้อยกว่าหรือเท่ากับ 20000/มม3
Hct. น้อยกว่าหรือเท่ากับ 20%
WBC น้อยกว่าหรือเท่ากับ 1000/มม3
เลือดออก
ระบบประสาท
มี Polyneupathy
GCS น้อยกว่าหรือเท่ากับ 6
มี Encephalophathy
ระบบทางเดินอาหาร
มี aolcuious cholecystitis
มีตับอ่่อนอักเสบ
มี Stress ulceration
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บแต่ละอวัยวะ
C = Contusions : การฟกช้ำ
A = Abrasions : แผลถลอก
D = Deformities : การผิดรูป
B = Burns : แผลไหม้
T = Tenderness : ตำแหน่งที่กดนั้นมีการเจ็บ
L = Lacerations : แผลฉีกขาด
S = Swelบling : อาการวม
P = Puncture / Penetrations : แผลที่มีวัสดุปักคา
การบาดเจ็บที่คอ
อาการแสดง ปวดคอ กล้ามเนื้อคอแข็งเกร็ง ปวดบวม
การรักษา
ดามคอที่หักให้ตรง rigid cervical collar
ดึงกระดูกคอ
การผ่าตัด
การรัักษา
1.Clear airway
2.Control hemorrhage
Management of shock
การบาดเจ็บที่ช่องท้อง
1.Blunt trauma การให้การช่วยเหลือ โดยวิธีการผ่าตัด
2.Penetrating trauma เป็นการบาดเจ็บที่มีแผลทะลุหน้าท้อง
ปารประเมินสภาพ
การดู พบรอยซ้ำ
การคลำ หน้าท้องเองเวลากด การฟัง การเคาะ
การตวรจทางห้องปฎิบัติการ
CBC
Blood chemistry : glucose BUN, cr, Amylase, LFT
Blood type, screen and cross match
Serum chemistry
Liver function studies : LFT
Urinalysis
Coagulation profile: PT,PTT
การรักษา
4.การรักษาตามอาการและผลกระทบจากการถูกทำลายของอวัยวะ
3.อวัยวะในช่องท้องที่โผล่ทะลักออกมาห้ามมำกลับเข้าที่เดิมจนกว่าจะได้รับการผ่าตัด
2.วัตถุที่เสียบคา
1.ช่วยเหลือเบื้องต้น
การบาดเจ็บที่ทรวงอก
2.ภาวะการเปลียนแปลงที่เกิดในช่องเยื่อหุ้มหัวใจ
3.ภาวะการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับเมดิเอสตินั่ม
1.ภาวะเปลียนแปลงในช่องเยื่อหุ้มปอด
4.ภาวะที่มีลมรั่วเข้าไปในเลือด
การรักษา
ยึดหลัก ABCD
ภาวะอกรวน ยึดทรวงอกให้อยู่นิ่ง
รักษาภาวะช็อค
Cardiac tamponade
การบาดเจ็บกระดูกเชิงกราน
อาการและอาการแสดง
มีแผลที่ทวารหนักหรือช่องคลอด เลือดออกทางปัสสาวะ คลำกระเพาะปัสสาวะได้
มีเลือดออกหลังเยื่อบุช้อลท้อง โคนขาจะขยายออกทั้งสองข้าง
การดูแลรักษาเบื้องต้น
การ Reduction และ Stabilization ทำ External fixator
การผ่าตัดผูกหลอดเลือด
ให้สารน้ำทดแทน เพื่อรักษาปริมาตรของสารน้ำในระบบไหลเวียน
วัดสัญญาณชีพ ประเมินการสูญเสียเลือดอย่างรุนแรง
การบาดเจ็บระบบทางเดินปัสสาวะ
การบาดเจ็บต่อกระเพาะปัสสาวะ
การบาดเจ็บต่อหลอดปัสสาวะ
การบาดเจ็บที่ท่อไต
การบาดเจ็บอวัยวะเพศ
การบาดเจ็บที่ไต
การตรวจร่างกาย
การฟัง เสียง bruits
การเคาะ เคาะกระเพาะปัสสาวะ เคาะหน้าท้อง
การดู รอยจ้ำเลือดบริเวณบั้นเอวหน้าท้อง
การคลำ กดเจ็บและแข็งเกร็งบริเวณบั้นเอว
การตรวจทางห้องปฎิบัติการ
การตรวจพิเศษ
Piain KUB (X-ray) Inteavenous pyelography Retrograde pyelogrphy
CBC
BUN และ Creatinine
การรักษา
การใส่ท่อระบายกระเพาะปัสสาวะ
ผ่าตัดซ่อมแซ่มส่วนที่แตกและล้างน้ำปัสสาวะ เข้าไปอยู่ในช่องท้องออกให้สอาด
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะอวัยวะล้มแล้วหลายระบบ
ประเมินอาการแสดงของภาวะล้มเหลวหลายระบบ
ส่งเสริมการไหลเวียนเลือดอย่างเพียงพอ
ให้ออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
ให้การสนับสนุนผู้ป่วยและครอบครัว
นางสาวทัดดาว เจริญสุข รหัส61121301034 เลขที่32