Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
8.5 ภาวะผิดปกติด้านจิตใจหลังคลอด, นางสาวสุกัญญา พลเยี่ยม…
8.5 ภาวะผิดปกติด้านจิตใจหลังคลอด
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด
สาเหตุ
ขาดสัมพันธภาพกับบิดา มารดา หรือ คู่สมรส
มีความรู้สึกขาดความพึงพอใจในตนเอง
ขาดการประคับประคองจากญาติ คู่สมรส หรือสังคม
ความเครียดทางจิตใจ เช่น ปัญหาชีวิตสมรส การตั้งครรภ์ไม่พึงปรารถนา
มีความรู้สึกสองฝักสองฝ่ายในการตั้งครรภ์
ประสบการณ์การคลอดลำบาก การบาดเจ็บจากการคลอด หรือมีปัญหาในระยะหลังคลอด
มารดาที่มีประวัติซึมเศร้าหลังคลอด
มีความเครียดทางสังคมและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ความกังวลในการเลี้ยงดูบุตร ปัญหาเศรษฐกิจ
มารดาหลังคลอดครรภ์แรก เนื่องจากขาดประสบการณ์การเลี้ยงดูบุตร หรือได้รับประสบการณ์การคลอดที่ไม่ดี
อาการและอาการแสดง
ระยะที่ 2
เกิดในช่วง 1-3 เดือนหลังคลอดหญิงหลังคลอดต้องมีการปรับตัวในบทบาทของการเป็นมารดาการเลี้ยงดูบุตร
ระยะที่ 3
อาจเกิดได้ในระยะเวลา 1 ปีหลังคลอดเกิดจากการที่หญิงหลังคลอดได้พยายามปรับตัวแล้วแต่ยังรู้สึกสองฝึกสองฝ่ายต่อการเป็นมารดาอยากทำหน้าที่ให้ดีที่สุด แต่ยังมีเกิดอารมณ์แปรปรวนไม่คงที่มีความรู้สึกว่าตนไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากบุคคลในครอบครัว
ระยะที่ 1
เกิดในระยะแรกหลังคลอดวันที่ 3 -10 มีอาการซึมเศร้าเสียใจสูญเสียเกิดจากความตื่นเต้นในการคลอด
การรักษา
การใช้กลุ่มช่วยในการรักษาหรือให้คู่สมรสบุคคลในครอบครัวมีส่วนร่วม
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าหลังคลอดเพื่อให้หญิงหลังคลอดได้เรียนรู้เกี่ยวกับการลดภาวะเครียด
การรักษาทางจิตแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
สนับสนุนและสร้างความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองให้แก่หญิงหลังคลอด
ให้ยา เช่น Isocarboxazind ( Marplan ) , Phenelzine ( Nardil ) , Amitriptyline( Tryptanol , Saroten) เป็นต้น
การพยาบาล
ให้ความสนใจ สร้างสัมพันธภาพที่ดีแก่มารดา
แนะนำสามีและญาติให้กำลังใจมารดา และให้การช่วยเหลือมารดาในการดูแลทารกทันที ที่พบว่ามารดา เริ่มมีความยุ่งยากในการดูแลบุตร
อธิบายสาเหตุความไม่สุขสบายและความแปรปรวนของอารมณ์และจิตใจในระยะหลังคลอด
ดูแลอย่างใกล้ชิดในรายที่มีอาการรุนแรง
การดูแลให้มารดาได้รับความสุขสบายและการพักผ่อนอย่างเพียงพอ
ภาวะจิตประสาทหลังคลอด
การพยาบาล
ป้องกันการทำร้ายตนเอง
สิ่งที่อาจก่อให้เกิดอันตรายเก็บให้พ้น
บริเวณที่มารดาพัก เช่นมีด กรรไกร
ให้ความสนใจทุกกิจกรรมและคำพูด
ดูแลให้ได้รับยา
สังเกตอาการอย่างใกล้ชิด
การรักษา
การรักษาทางจิต ได้แก่ การทำจิตบำบัด
การรักษาโดยการแก้ไขสิ่งแวดล้อม ได้แก่ การให้มีการสนับสนุนทางสังคมโดยเฉพาะสามีและญาติช่วยในการดูแลแบ่งเบาภาระ
การรักษาทางกาย ได้แก่ การให้ยา antipsychotics และยา sedative, การช็อคไฟฟ้า
สาเหตุ
มารดาที่มีภาวะเครียดจากการตั้งครรภ์ เช่น ขาดการสนับสนุนทางสังคม ขาดคู่ชีวิต คนสนิท และสถานภาพทางสังคมต่ำ
มารดาที่มีบุคลิกภาพแปรปรวนอยู่ก่อนการตั้งครรภ์
มีประวัติเป็น manic-depressive
มีประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัวด้วยโรคทางจิตเวช
มารดาที่มีประวัติเป็นโรคจิตหลังคลอด
การเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมนในร่างกาย ตลอดระยะการตั้งครรภ์ และ การเปลี่ยนแปลงของรอบประจำเดือน
อาการและอาการแสดง
อาการมักจะเริ่มตั้งแต่ 48-72ชั่วโมง หลังคลอด และไม่พบอาการในผู้ป่วยหลังคลอด เกิน 2 สัปดาห์แล้ว
มีอาการรุนแรงทันที นอนไม่หลับ กระสับกระส่ายหงุดหงิดง่าย อารมณ์ไม่แน่นอน วิตกกังวลอย่างมาก อาการต่อมาคือ สับสน จำเวลา สถานที่ บุคคลไม่ได้ ความจำเสื่อม สมาธิเสียวุ่นวาย พูดเพ้อเจ้อ มีท่าทางแปลก ๆ ร้องไห้คร่ำครวญ หลงผิด หวาดระแวง ตำหนิตนเอง ลงโทษว่าตนไม่ดี คิด และพยายามฆ่าตัวตาย
นางสาวสุกัญญา พลเยี่ยม รหัสนักศึกษา602701104 นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่ 3 รุ่นที่35