Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Multiple Organs Dysfunction Syndrome: MODS - Coggle Diagram
Multiple Organs Dysfunction Syndrome: MODS
สาธารณภัย
ประเภท
Natural disaster
1.1 ภาวะภูมิอากาศและฤดูกาล
-ภัยแล้ง ( Drouht )
-น้ำท่วม (Flooded)
1.2 ตามสภาพภูมิประเทศ : อุทกภัย หิมะถล่ม
1.3 ภัยที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของผิวโลก :
แผ่นดินไหว แผ่นดินถล่ม ภูเขาไฟระเบิด
1.4 ภัยทางชีวภาพ : การระบาดของโรค
Man-made disaster
2.1 ภัยจากการพัฒนาประเทศ
2.1.1 การคมนาคม
2.1.2 การอุตสาหกรรม
2.1.3 ไฟไหม้อาคารสูง
2.1.4 สิ่งก่อสร้างถล่ม
2.2 ภัยความขัดแย้งและปัญหาในสังคม
ผลกระทบของสาธารณภัย
ทางการสาธารณสุข
ทางเศรษฐกิจ
ทางสังคม การเมืองและการปกครอง
ทางสาธารณูปโภค
ทางสิ่งแวดล้อม
Mass Casualty
หมายถึง อุบัติเหตุกลุ่มชน หรือบางคนก็เรียกว่า Mass Emergency ซึ่งเป็นการได้รับอุบัติเหตุหรือบาดเจ็บในคนหมู่มาก ได้แก่ พวกระเบิดพลีชีพ ตึกถล่มหรือแม้กระทั่งอุบัติเหตุจราจร
แบ่งออกเป็น 3 ระดับ
ระดับที่ 1 (Multiple-Patient Incident) มีผู้ได้รับบาดเจ็บมากกว่า 10 คน และอาการไม่สาหัสมากทางหน่วยตรวจฉุกเฉิน สามารถจัดการได้ ไม่ต้องเปิดใช้แผน
ระดับที่ 2 (Multiple-Casualt Incident) มีผู้ได้รับบาดเจ็บไม่เกิน 100 คน มีอาการสาหัสหลายราย ต้องขอความร่วมมือจากเจ้าหน้าที่ภายในงานการพยาบาลผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยฉุกเฉิน หรือโรงพยาบาลอื่น
ระดับที่ 3 (Mass Casualt Incident) มีผู้ได้รับบาดเจ็บจำนวนมาก (ตั้งแต่ 100 คน ขึ้นไป) เหตุการณ์รุนแรง ต้องขอความช่วยเหลือจากแพทย์ที่เกี่ยวข้อง เจ้าหน้าที่ฝ่ายการพยาบาล เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ งานโภชนาการ ห้องยา ห้องผ่าตัด หน่วยขนย้าย หน่วยรังสี เจ้าหน้าที่ตำรวจ หน่วยเวช-ระเบียน และต้องรายงานต่อผู้บังคับบัญชาให้ทราบเพื่อดำเนินการ
การพยาบาลสาธารณภัย
การดำเนินกิจกรรมที่มุ่งลดความเสียหายต่อชีวิตและสุขภาพของมนุษย์ที่เกิดจากสาธารณภัย บนพื้นฐานองค์ความรู้ และทักษะทางการพยาบาลอย่างเป็นระบบ ยืดหยุ่น โดยทำงานประสานความร่วมมือกับวิชาชีพอื่น
การดูแลผู้ประสบภัยพิบัติหรืออุบัติภัยหมู่
D– Detection เป็นการประเมินสถานการณ์
I - Incident command เป็นระบบผู้บัญชาการเหตุการณ์และผู้ดูภาพรวมของการปฏิบัติการทั้งหมด
S – Safety and Security ประเมินความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานในที่เกิดเหตุ
A – Assess Hazards ประเมินสถานที่เกิดเหตุเพื่อระแวดระวังวัตถุอันตรายต่างๆที่อาจเหลือตกค้างในที่เกิดเหตุ
S – Support เตรียมอุปกรณ์และทรัพยากรที่จําเป็นต้องใช้ในที่เกิดเหตุ
T – Triage/Treatment การคัดกรองและให้การรักษาที่รีบด่วนตามความจําเป็นของผู้ป่วย โดยการใช้หลักการของ MASS Triage Model( Move, Assess, Sort และ Send) เพื่อคัดแยกผู้ป่วยแบ่งเป็นกลุ่ม ตาม ID-me ( Immediate, Delayed, Minimal, Expectant) ได้อย่างรวดเร็ว
E – Evacuation การอพยพผู้บาดเจ็บระหว่างเหตุการณ์
R – Recovery การฟื้นฟูสภาพหลังจากเกิดเหตุการณ์
การประเมินสภาวะคร่าวๆ โดยเร่งด่วน
A ได้แก่ Airway maintenance with cervical spine protection
B ได้แก่ Breathing and ventilation
C ได้แก่ Circulation with hemorrhage control
D ได้แก่ Disability : Neurologic status
E ได้แก่ Exposure / Environment control
การประเมินอาการทางระบบประสาท
A = Alert
V = Verbal
P = Painful
U = Unresponsive
การสัมภาษณ์เพื่อการคัดกรอง
O = on set of symptoms
L = Location of problem
D = Duration of symptoms
C =Characteristics of the patient
A = Aggravating factors
R = Relieving factors
T = Treatment administered before arrival
การสัมภาษณ์เกี่ยวกับความเจ็บปวด
P = Provoking factor
Q = Quality of pain
R = Region/Radiation of pain
S = Severity of pain
T =Time pain began
T = Treatment
trauma score
glasgow coma score
blood pressure
pulse rate
capillary filling
respiration
การพยาบาลภาวะล้มเหลวหลายระบบ
เป็นภาวะที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยวิกฤตพร้อมกับมีอาการคุมคามต่อชีวิต โดยจะเป็นกลุ่มอาการที่อวัยวะทำงานผิดปกติ (MODS)จนถึงขั้นล้มเหลว (MOF)ตั้งแต่ 2 ระบบขึ้นไป เกิดขึ้นภายหลังจากร่างกายมีการอักเสบที่รุนแรงจนไม่สามารถควบคุมได้ (SIRS
มีการทำลายเซลล์, เนื้อเยื่อ หรืออวัยวะที่ปกติของร่างกาย ซึ่งอาจจะอยู่ไกลออกไปจากที่มีการบาดเจ็บในครั้งแรก จากระบบภูมิคุ้มกันหรือกระบวนการที่เกี่ยวข้อง จนไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ
ชนิดของ MODS
-Primary MODS = เป็นผลโดยตรงบริเวณที่เกิด injury มีผลทำให้เกิด impaired perfusion / ischemia
-Secondary MODS = ส่วนมากเป็น a complication of septic shock/ Systemic Inflammatory Response Syndrome: SIRS
any forms of shock อาจเป็นสาเหตุ เพราะทำให้เกิดภาวะ inadequate tissue perfusion
อาการที่พบบ่อย
-Sepsis = The systemic response to infection การติดเชื้อตามระบบในร่างกาย ประกอบด้วยอาการ ไข้ , tachypnea, tachycardia
-Septic Shock: จะเกิดตามหลัง sepsis 15 hr. ภาวะ shock จากการจากการติดเชื้อ
-Systemic Inflammatory Response Syndrome: SIRS
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บแต่ละอวัยวะ
การบาดเจ็บที่ใบหน้า
จากอุบัติเหตุ จะพบมีเลือดในช่องปากหรือจมูกและฟันหลุดในช่องปาก กระดูกขากรรไกรบนที่แตกรุนแรง
ประเมินโดย ตรวจร่างกายเบื้องต้น primary assessment
การรักษา
Clear airway
2.Control hemorrhage
Management of shock
การบาดเจ็บที่คอ
อาการแสดง : ปวดต้นคอ กล้ามเนื้อคอแข็งเกร็ง, ปวด, บวม,อาจมีรอยฟกช้ำของเลือดให้เห็น มีแขนหรือขาชา และ อ่อนแรงร่วมด้วย
การรักษา
-ดามคอที่หักให้ตรง rigid cervical collar
ดึงกระดูกคอ
การผ่าตัด
การบาดเจ็บที่ทรวงอก
-ทางเดินหายใจส่วนบน พบกล้ามเนื้อบริเวณคอโป่ง sternocliedomastoid
-ถ้าอากาศยังไม่สามารถเข้าปอดได้ ทรวงอกจะขยายออกไม่ได้เต็มที่ แต่กลับมีส่วนที่ยุบเข้าไปได้ คือ Suprasternal notch supraclavicular Fossae Intercostal space และ Epigastium จะยุบตัวเข้าไปทันที
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในภาวการณ์บาดเจ็บทรวงอก
ภาวการณ์เปลี่ยนแปลงในช่องเยื่อหุ้มปอด
1.1ภาวะที่มีลมรั่วเข้าไปในช่องเยื่อหุ้มปอด
1.2 ภาวะที่มีของเหลวเข้าไปในช่องเยื่อหุ้มปอด
1.3 ภาวะที่มีการติดกันของเยื่อหุ้มปอดชั้นนอกและชั้นใน
1.4 ภาวะที่มีการเสียความแข็งแรงของผนังทรวงอก หรือภาวะอกรวน
การรักษา
-ภาวะอกรวน ยึดทรวงอกให้อยู่นิ่ง
-รักษาภาวะช็อค
-Cardiac tamponade มีอาการสำคัญ เรียก Beck’s Traid
การบาดเจ็บที่ช่องท้อง
Blunt trauma การบาดเจ็บที่ไม่มีแผลทะลุที่ท้อง หรือถูกกระแทก การให้การช่วยเหลือ โดยวิธีการผ่าตัด สังเกตอาการอย่างใกล้ชิด
Penetrating trauma เป็นการบาดเจ็บที่มีแผลทะลุหน้าท้อง แบ่งออกเป็น การบาดเจ็บที่มีแผลถูกแทงจากของมีคม และการบาดเจ็บที่ท้องที่มีแผลถูกยิง : การผ่าตัด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-CBC
-Blood chemistry : glucose BUN, cr, Amylase, LFT
-Blood type, screen and cross match
-Serum chemistry
-Liver function studies : LFT
-Urinalysis
-Coagulation profile: PT,PTT
การรักษาพยาบาลที่สำคัญ
ช่วยเหลือเบื้องต้น ทางเดินหายใจและระบบไหลเวียนโลหิต การดามกระดูกสันหลัง
วัตถุที่เสียบคา
อวัยวะในช่องท้องที่โผล่ทะลักออกมาห้ามนำกลับเข้าที่เดิมจนกว่าจะได้รับการผ่าตัดให้ ปิดคลุมด้วยผ้าก็อซชุบน้ำเกลือ (หรือที่สะอาดที่สุดที่จะหาได้ในขณะนั้น) และปิดทับด้วยผ้าก็อซแห้งหรือวัสดุที่ป้องกันการซึมผ่านได้อีกชั้นหนึ่ง
การรักษาตามอาการและผลกระทบจากการถูกทำลายของอวัยวะนั้นๆ เช่น ตับไตม้าม
การผ่าตัด
การบาดเจ็บกระดูกเชิงกราน
อาการและอาการแสดง
-มีแผลที่ทวารหนักหรือช่องคลอด,เลือดออกทางเดินปัสสาวะ,คลำกระเพาะปัสสาวะได้,ตรวจทางทวารหนักคลำตำแหน่งของต่อมลูกหมาก,คลำได้ชิ้นกระดูกหรือเลือดคั่งจากการตรวจทางทวารหนักเรียกว่า Earle’s sign
-มีเลือดออกหลังเยื่อบุช่องท้อง(retroperitoneal hematoma) โคนขาจะขยายออกทั้งสองข้าง (เลือดไหลเซาะลงมาใต้ inguinal ligament) หรือ เลือดคั่งในถุงอัณฑะ(จาก uroginital diaphragm ฉีกขาด) เรียกว่า Destor’s sign
การดูแลรักษาเบื้องต้น
-วัดสัญญาณชีพ ประเมินการสูญเสียเลือดอย่างรุนแรง
-ให้สารน้ำทดแทน เพื่อรักษาปริมาตรของสารน้ำในระบบไหลเวียนอย่างรวดเร็ว
-การ Reduction และ Stabilization ทำ External fixator
-การผ่าตัดผูกหลอดเลือด
การบาดเจ็บระบบทางเดินปัสสาวะ
-การบาดเจ็บที่ไต
-การบาดเจ็บที่ท่อไต
-การบาดเจ็บต่อกระเพาะปัสสาวะ
-การบาดเจ็บต่อหลอดปัสสาวะ
-การบาดเจ็บอวัยวะเพศ
การตรวจร่างกาย
การดู : รอยจ้ำเลือดบริเวณบั้นเอวหน้าท้องหรือบริเวณฝีเย็บ
เลือดออกบริเวณรูเปิดของทางเดินปัสสาวะ
การฟัง : เสียง bruits
การเคาะ : เคาะหากระเพาะปัสสาวะ
เคาะหน้าท้องทั่วไปว่าทึบหรือไม่
การคลำ : การกดเจ็บและแข็งเกร็งบริเวณบั้นเอว
วัดรอบท้องตรวจดูภาวะท้องอืด
คลำหาก้อนบริเวณท้องและบั้นเอวและอาจพบการไหลออกของปัสสาวะหรือเลือด(extravasation)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-BUN และCreatinine
-CBC
การตรวจพิเศษ
Plain KUB (X-ray), Intravenous pyelography Retrograde pyelography
การรักษา
-การใส่ท่อระบายกระเพาะปัสสาวะ
-ผ่าตัดซ่อมแซมส่วนที่แตกและล้างน้ำปัสสาวะที่ เข้าไปอยู่ในช่องท้องออกให้สะอาด
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะอวัยวะล้มเหลวหลายระบบ
1.ประเมินอาการแสดงของภาวะล้มเหลวหลายระบบ เช่น SIR
ส่งเสริมการไหลเวียนเลือดอย่างเพียงพอ
3.ให้ออกซิเจนอย่างเพียงพอ
4.ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
5.ดูแลให้สารอาหารอย่างเพียงพอ ติดตาม bowel sound และนน.ตัวทุกวัน