Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
6.7 ความโกรธ (Anger) - Coggle Diagram
6.7 ความโกรธ
(Anger)
คำใกล้เคียงกันที่ควรรู้จัก
ก้าวร้าว(Aggression)
เป็นพฤติกรรมที่แสดงออกที่เกิดจากความโกรธ คับข้องใจ รู้สึกผิด วิตกกังวล
เป้าหมาย
เกิดการบาดเจ็บและเสียหาย อาจจะด้วยคาพูด หรือการกระทา
การคุกคาม
ไม่เป็นมิตร(Hostile)
เป็นภาวะของความเป็นปรปักษ์
มีความประสงค์ร้ายเกิดขึ้นเมื่อบุคคลรู้สึกว่า
ตนเองถูกคุกคามหรือขาดพลังอานาจ
อาจแสดงออกอย่างตรงไปตรงมา หรือซ่อนเร้น
เช่น ใช้ถ้อยคารุนแรง พูดล้อให้ได้อาย การเฉยเมยไม่พูดไม่ทักทาย
โกรธ (Anger)
เป็นอารมณ์ธรรมชาติของมนุษย์ที่เกิดจากความหงุดหงิดง่าย
นำไปสู่ความรู้สึกที่ไม่พอใจหรืออารมณ์รุนแรง
ความโกรธเป็นปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นที่ไม่พอใจและคุกคาม
สามารถเป็นแรงผลักดันด้านบวกให้บุคคลตัดสินใจและเป็นการเตรียมความพร้อมในการป้องกันตนเอง และมีอาการทางกายร่วม
ความรุนแรง(Violence)
ที่แสดงออกด้วยการ ทาร้าย หรือทาลายโดยตรง
จะเป็นอันตรายต่อตนเอง ผู้อื่น หรือทรัพย์สินได้
เป็นปฏิกิริยาของพฤติกรรมก้าวร้าว
เช่น การทาลายข้าวของ การทาร้ายร่างกาย
การฆ่าผู้อื่น
สาเหตุ
ปัจจัยทางด้านชีวภาพ
(Biological factor)
เนื้องอกที่สมอง
น้าตาลในเลือดต่ำ
บาดเจ็บที่สมอง
สมองเสื่อม
สารสื่อประสาท(HT5,DA, NE)
ปัจจัยทางด้านจิตสังคม
(Psychosocial)
ทฤษฏีการเรียนรู้ของสังคม
(Bandura)
ทฤษฏีทางปัญญา
(Beck)
ทฤษฏีพฤติกรรมศาสตร์
(Skinner)
ทฤษฏีจิตวิเคราะห์
(Freud)
กลไกทางจิตที่พบบ่อย
Introjection
Suppression
Displacement
Sublimation
Projection
วงจรของภาวะโกรธ
Escalation Phase
Crisis Phase
Triggering Phase
Recovery Phase
Post crisis Phase
พฤติกรรมตอบโต้
ต่อภาวะโกรธ
Aggressive behavior
จะแสดงความโกรธออกมาอย่าง
ไม่เหมาะสม เป็นพฤติกรรมเชิงทาลาย
Assertive behavior
จะแสดงความโกรธออกมาเป็น
พฤติกรรมเชิงสร้างสรรค์ (Constructive behavior)
จะยอมรับว่าอารมณ์หรือความรู้สึกโกรธ เป็นเรื่องปกติ
Passive behavior
เมื่อมีความโกรธจะพยายามเก็บกดหรือ
ปฏิเสธหรือซ่อนความโกรธของเขาเอาไว้
ผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูง
ต่อการก่อความรุนแรง
ได้แก่
ผู้ป่วยโรคจิตเภท โรคซึมเศร้า และโรคอารมณ์สองขั้ว ที่มีภาวะอันตรายสูง
เกณฑ์การจำแนก
มีประวัติทาร้ายตัวเองด้วยวิธีรุนแรงมุ่งหวังให้เสียชีวิต
มีประวัติทาร้ายผู้อื่นวิธีรุนแรง/ก่อเหตุการณ์รุนแรง
ในชุมชนผู้ป่วยที่มีอาการหลงผิด
มีความคิดทาร้ายผู้อื่นให้ถึงแก่ชีวิต หรือมุ่งร้ายผู้อื่นแบบเฉพาะเจาะจง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มี
ความรู้สึกโกรธ
4.เปิดโอกาสให้ระบายความความรู้สึก
5.ให้การยอมรับและให้ข้อมูลว่าอารมณ์โกรธเป็นเรื่องปกติ
3.จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบาบัด
6.เมื่อความโกรธลดลงให้สารวจถึงสาเหตุ
2.สร้างสัมพันธภาพด้วยท่าทีที่เป็นมิตร
7ชี้แนะและให้ข้อมูลให้ผู้รับบริการเข้าใจถึงผลเสีย
1.การรู้ตัวของพยาบาล
8.ส่งเสริมให้ผู้รับบริการวางแผนหาวิธีระบาย
ความโกรธของตนออกมาอย่างเหมาะสม
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพฤติกรรม
ก้าวร้าวและมีพฤติกรรมรุนแรง
2.ประเมินระดับความก้าวร้าวและพฤติกรรมรุนแรง
3.จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบาบัด ลดสิ่งกระตุ้น
1.การรู้ตัวของพยาบาล
4.สร้างสัมพันธภาพด้วยท่าทีที่เป็นมิตร
5.ถ้าผู้ป่วยส่งเสียงดัง ควรเรียกชื่อ
6.อยู่ในระยะที่ปลอดภัย ไม่เข้าใกล้ผู้ป่วย
เฝ้าสังเกตพฤติกรรมผู้ป่วย
7
หลีกเลี่ยงการจ้องมองผู้ป่วยด้วยท่าทีขึงขัง
หากผู้ป่วยสามารถควบคุมอารมณ์ตัวเองได้บ้าง
พูดคุยให้ผู้ป่วยได้ฉุกคิด เตือนสติโดยเน้นให้ผู้ป่วย
ผ่อนคลายอารมณ์
บอกความต้องการ
มีทางเลือกไม่ได้ถูกบีบบังคับให้จนมุม
วางอาวุธ
9.หากก้าวร้าวรุนแรง
ควบคุมตนเองได้น้อย
พิจารณาเรียกทีม
จำกัดพฤติกรรมห้องแยก ผูกมัด และให้ยา
เมื่ออาการสงบ เปิดโอกาสให้ระบายความรู้สึก
แนะนาวิธีการจัดการกับความโกรธ
เพื่อไม่ให้เกิดพฤติกรรมก้าวร้าว