Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย - Coggle Diagram
บทที่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
ความหมายของกฎหมาย
เพื่อใช้บังคับบุคคลให้ปฏิบัติตาม
เพื่อควบคุมพฤติกรรม
ระเบียบ/ข้อบังคับที่ออกโดยรัฐหรือผู้มีอำนาจ
ลักษณะของกฎหมายและประเภทของกฎหมาย
ลักษณะของกฎหมาย
มีลักษณะเป็นกฎเกณฑ์
กำหนดขึ้นโดยรัฐหรือผู้มีอำนาจ
บังคับใช้โดยทั่วไป
สภาพบังคับ
ผลดี
เช่น กรณีจดทะเบียนสมรส ทำให้บุตรเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย สามารถใช้สิทธิของคู่สมรสไปลดหย่อนภาษีได้
ผลร้าย
ประหารชีวิต จำคุก กักขัง ปรับ
ระบบของกฎหมาย
ระบบกฎหมายจารีตประเพณี หรือระบบกฎหมายไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
ระบบกฎหมายลายลักษณ์อักษร หรือระบบประมวลกฎหมาย
ประเภทของกฎหมาย
ตามสิทธิประโยชน์ และความสัมพันธ์ของบุคคล
กฎหมายมหาชน (Public Law)
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับประชาชน
กฎหมายเอกชน (Private Law)
ความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชน
กฎหมายระหว่างประเทศ (International Law)
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศต่อประเทศ หรือรัฐต่อรัฐ
แหล่งกำเนิดของกฎหมาย
กฎหมายภายใน
องค์กรของรัฐที่มีอำนาจในการบัญญัติกฎหมาย บัญญัติขึ้น ใช้ภายในประเทศ
กฎหมายภายนอก
่บัญญัติขึ้นโดยองค์การระหว่างประเทศ
ลักษณะการใช้กฎหมาย
กฎหมายสารบัญญัติ
กำหนดสิทธิหรือหน้าที่ที่ให้บุคคลปฏิบัติ เช่น กฎหมายอาญา
กฎหมายวิธีสบัญญัติ
วิธีการพิจารณาคดีของศาล เช่น วิธีพิจารณา ความแพ่ง
สภาพบังคับทางกฎหมาย
กฎหมายแพ่ง กฎหมายอาญา กฎหมายปกครอง
ลำดับชั้นหรือศักดิ์ของกฎหมาย
รัฐธรรมนูญ
กฎหมายอื่นจะขัดแย้งไม่ได้
กฎหมายที่มีศักดิ์สูงสุด
กำหนดรูปแบบการปกครองประเทศ
เป็นกฎหมายแม่บทของกฎหมายปกครองประเทศ
พระราชบัญญัติ พระราชกำหนด และประมวลกฎหมาย
พระราชบัญญัติ (พรบ.)
ออกโดยฝ่ายนิติบัญญัติหรือรัฐสภา
ประมวลกฎหมาย
การรวบรวมบทบัญญัติของกฎหมายลายลักษณ์ อักษรในเรื่องเดียวกัน ให้มาอยู่ในหมวดเดียวกันอย่างเป็นระบบ
พระราชกำหนด
รัฐธรรมนูญมอบอำนาจให้แก่ ฝ่ายบริหาร เพื่อออกข้อบังคับในกรณีฉุกเฉิน
พระราชกฤษฎีกา
ออกโดยฝ่ายบริหารที่อาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญหรือพระราชบัญญัติ
มีอำนาจใช้บังคับประชาชนทั่วไป แต่ไม่สามารถมีบทกำหนดโทษ
ถ้ากฎหมายแม่บทถูกยกเลิก พระราชกฤษฎีกาจะถูกยกเลิกไปโดยปริยาย
กฎกระทรวง
ออกโดยฝ่ายบริหาร
ออกกฎหมายเกี่ยวกับรายละเอียดต่างๆ ในการปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัตินั้นๆ
้บังคับกับประชาชนทั่วไป
ระเบียบ/ข้อบังคับ และประกาศ/คำสั่ง
ออกโดยหัวหน้าหน่วยงานองค์กร
เพื่อกำหนดรายละเอียดวิธีปฏิบัติงาน
ลักษณะของระบบศาลไทย
ศาลรัฐธรรมนูญ
พิจารณาวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อกับรัฐธรรมนูญ แต่ไม่มีอำนาจหน้าที่พิจารณาอรรถคดีทั่วไป
ศาลยุติธรรม
ศาลชั้นต้น
ศาลแพ่ง
ศาลอาญา
ศาลอุทธรณ์
พิจารณาตัดสินคดีที่ศาลชั้นต้นได้ตัดสินแล้ว แต่คู่ความยังต้องการความเป็นธรรม
ศาลฎีกา
การวินิจฉัยชี้ขาดของ ศาลฎีกาถือเป็นที่สุดหรือเป็นคดีแดง
คู่กรณีไม่สามารถนำกลับมาฟ้องร้องได้
ศาลปกครอง
มีอำนาจหน้าที่ในการพิจารณา พิพากษาคดีในทางปกครอง
เป็นคดีพิพาทระหว่างหน่วยงานต่างๆ
เพื่อปกป้องคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน
ศาลทหาร
มีอำนาจหน้าที่ในการพิจารณาพิพากษาคดีที่ทหารกองประจำการกระทำผิด