Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย, นางสาว กฤตยา โทนสังข์อินทร์…
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
ความหมายของกฎหมาย
กฎที่สถาบันหรือผู้มีอำนาจสูงสุด เพื่อใช้บังคับบุคคลให้ปฏิบัติตาม หากผู้ใดฝ่า ฝืนย่อมต้องได้รับโทษตามที่กฎหมายกำหนด
ลักษณะของกฎหมายและประเภทของกฎหมาย
ลักษณะของกฎหมาย
กฎหมายต้องกำหนดขึ้นโดยรัฐหรือผู้มีอำนาจ
คำสั่งหรือข้อบังคับของผู้มี อำนาจในรัฐ สำหรับประเทศไทย องค์กรที่ทำหน้าที่ออกกฎหมาย เช่นรัฐสภา
กฎหมายต้องบังคับใช้โดยทั่วไป
ประกาศใช้แล้ว บุคคลทุกคนต้องอยู่ภายใต้ กฎหมายโดยเสมอภาค แต่อาจมีข้อยกเว้นในบางกรณี
กฎหมายต้องมีลักษณะเป็นกฎเกณฑ์
กฎหมายต้องเป็นข้อบังคับที่เป็น มาตรฐานที่ใช้วัดหรือกำหนดความประพฤติของคนในสังคมว่าถูกหรือผิด ทำได้หรือไม่ได้
กฎหมายต้องมีสภาพบังคับ
สภาพบังคับนั้นมีทั้งผลร้ายและผลดี
ผลร้าย จำคุก ปรหารชีวิต ปรับ ยึดทรัพย์
ผลดี สิทธิสมรสมีลูกสามารถลดหย่อนภาษีได้
กฎเกณฑ์ที่กำหนดความประพฤติของบุคคล ดังนั้นเพื่อให้บุคคลนั้นปฏิบัติตาม
ระบบของกฎหมาย
ระบบกฎหมายจารีตประเพณี หรือระบบกฎหมายไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
ชนเผ่าพื้นเมืองของประเทศอังกฤษพระมหากษัตริย์ได้พยายาม สร้างหลักเกณฑ์การพิจารณาคดี เพื่อความเป็นธรรมในกรอบเดียวกัน คำพิพากษาของศาลถือเป็นกฎหมาย การพิพากษาคดียึดตามคำพิพากษาเดิม จึงเป็น การพิจารณาคดีเฉพาะเรื่องไปสู่เรื่องทั่วไป (Induction)
ระบบกฎหมายลายลักษณ์อักษร หรือระบบประมวลกฎหมาย
แหล่งกำเนิดจากชาวโรมัน รัฐสภาเป็น ผู้ออกกฎหมาย ศาลต้องพิพากษาตามตัวบทกฎหมาย จึงเป็นการพิจารณาคดีจากหลักเกณฑ์ทั่วไปสู่เฉพาะ เรื่อง (Deduction)
ประเภทของกฎหมาย
กฎหมายที่แบ่งโดยแหล่งกำเนิดของกฎหมาย
กฎหมายภายใน สนธิสัญญา อนุสัญญา
กฎหมายภายนอก กฎหมายระเบียบราชการ กฎหมาย การเงินการคลัง กฎหมายธุรกิจ กฎหมายสาธารณะสุข กฎหมายอุตสาหกรรม
กฎหมายที่แบ่งโดยเจตนารมณ์และเนื้อหาของกฎหมาย
กฎหมายระเบียบราชการ กฎหมาย การเงินการคลัง กฎหมายธุรกิจ กฎหมายสาธารณะสุข กฎหมายอุตสาหกรรม
กฎหมายที่แบ่งตามสิทธิประโยชน์ และความสัมพันธ์ของบุคคล
กฎหมายเอกชน บัญญัติความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับ เอกชน รวมทั้งหน่วยงานของรัฐและรัฐวิสาหกิจที่ดำเนินธุรกิจแบบเอกชน
กฎหมายระหว่างประเทศ ่กำหนดความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศต่อประเทศ หรือรัฐต่อรัฐ
แผนกคดีบุคคล สัญชาติ ภูมิลำเนา การสมรส การทำนิติกรรม และทรัพย์สิน
แผนกคดีอาญา กฎหมายว่าด้วยการส่งผู้ร้ายข้ามแดน
แผนกคดีเมือง เขตแดน การฑูต การทำสนธิสัญญา
กฎหมายมหาชน บัญญัติความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับ ประชาชน โดยรัฐเป็นฝ่ายปกครองที่มีอำนาจเหนือกว่าประชาชน
กฎหมายที่แบ่งโดยลักษณะการใช้กฎหมาย
กฎหมายสารบัญญัติ กฎหมาย แพ่งและพาณิชย์ กฎหมายอาญา กฎหมายคุ้มครองแรงงาน
กฎหมายวิธีสบัญญัติ วิธีพิจารณา ความแพ่ง วิธีพิจารณาความอาญา
กฎหมายที่แบ่งโดยสภาพบังคับทางกฎหมาย
กฎหมายแพ่ง กฎหมายอาญา กฎหมายปกครอง
ลำดับชั้นหรือศักดิ์ของกฎหมาย
พระราชกฤษฎีกา
พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นตามค าแนะน าของคณะรัฐมนตรี ออกโดย ฝ่ายบริหารที่อาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญหรือพระราชบัญญัติ
พระราชกฤษฎีกาปิดประชุมสมัยวิสามัญแห่งรัฐสภา พระราช กฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
กฎกระทรวง
ออกโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างๆ ซึ่งออกตามความเห็นชอบของคณะรัฐมนตร
กฎกระทรวงกำหนดลักษณะของสถานพยาบาลและ ลักษณะการให้บริการของสถานพยาบาล พ.ศ. 2558
ระเบียบ และข้อบังคับ
ออกโดยหัวหน้า หน่วยงานองค์กร ผ่านความเห็นชอบจากผู้บริหารหน่วยงานหรือคณะกรรมการ
ข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยการรักษาจริยธรรมแห่ง วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. 2550
ประกาศและคำสั่ง
ออกโดยหัวหน้า หน่วยงาน เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานในหน่วยงาน
ประกาศสภาการพยาบาลเรื่องห้ามมิให้ยาหรือสารละลายทางหลอดเลือดดำ
พระราชบัญญัติ พระราชกำหนด และประมวลกฎหมาย
ประมวลกฎหมาย รวบรวมบทบัญญัติของกฎหมายลายลักษณ์ อักษรในเรื่องเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน ให้มาอยู่ในหมวดเดียวกันอย่างเป็นระบบ
พระราชกำหนด่ รัฐธรรมนูญมอบอำนาจให้แก่ ฝ่ายบริหาร เพื่อออกข้อบังคับในกรณีฉุกเฉินที่มีความจำเป็นรีบด่วน อันจะเป็นประโยชน์ในการรักษาความ ปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ หรือความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศ
พรบ กฎหมายที่ออกโดยฝ่ายนิติบัญญัติหรือรัฐสภา โดย ผู้ที่สามารถเสนอร่างกฎหมายนี้ คือ คณะรัฐมนตรี และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
อื่นๆ
กฎหมายที่ออกโดยองค์กรปกครองตนเอง
ข้อบัญญัติ กรุงเทพมหานคร(เฉพาะพื้นที่)
รัฐธรรมนูญ
กฎหมายที่มีศักดิ์สูงสุด
ลักษณะของระบบศาลไทย
ระบบศาลของประเทศไทย
แยกเป็นอิสระจากกัน มีผู้พิพากษาหรือตุลาการของแต่ละ ศาลโดยเฉพาะ จะย้ายจากศาลหนึ่งไปดำรงตำแหน่งในอีกศาลหนึ่งไม่ได้
ศาลของประเทศไทย
ศาลรัฐธรรมนูญ
ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับรัฐธรรมนูญ แต่ไม่มีอ านาจหน้าที่พิจารณาอรรถคดีทั่วไป
ศาลยุติธรรม
2.2 ศาลอุทธรณ์
ศาลลำดับที่สูงกว่าศาลชั้นต้น มีองค์คณะผู้พิพากษาอย่างน้อย 3 คน เพื่อพิจารณาตัดสินคดีที่ศาลชั้นต้นได้ตัดสินแล้ว แต่คู่ความยังต้องการความเป็นธรรม
2.3 ศาลฎีกา
ศาลยุติธรรมสูงสุด มีประธานศาลฎีกาซึ่งเป็นประมุข ของตุลาการศาลยุติธรรม เป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุด มีเพียงศาลเดียวตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร
2.1 ศาลชั้นต้น
ศาลแพ่ง เป็นศาลยุติธรรมชั้นต้นซึ่งมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีแพ่งทั้งปวงและ คดีอื่นใดที่มิได้อยู่ในอำนาจของศาลยุติธรรมอื่น
ศาลอาญา เป็นศาลชั้นต้นซึ่งมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาทั้งปวงในเขต ท้องที่กรุงเทพมหานคร นอกจากท้องที่ที่อยู่ในเขตของศาลอาญากรุงเทพใต้
ศาลปกครอง
ศาลที่จัดตั้งขึ้นใหม่ตามรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 276
มีอำนาจหน้าที่ในการพิจารณา พิพากษาคดีในทางปกครอง ซึ่งเป็นคดีพิพาทระหว่างหน่วยงานราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือ ราชการส่วนท้องถิ่น หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐกับเอกชนกรณีหนึ่ง
ศาลทหาร
ศาลทหารมีอำนาจหน้าที่ในการพิจารณาพิพากษาคดีที่ทหารกองประจ าการกระท าผิด ตาม กฎหมายพระธรรมนูญศาลทหาร
ระบบศาลคู่
ใ้ห้ศาลยุติธรรมมีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาทเฉพาะคดีแพ่งและคดีอาญา เท่านั้น
ระบบศาลเดี่ยว
ระบบที่ให้ศาลยุติธรรมมีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาททุกประเภท
นางสาว กฤตยา โทนสังข์อินทร์ รหัส 6001211160 SecA เลขที่ 55