Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคลอดเฉียบพลันและการตกเลือดหลังคลอด, นางสาวอริญา ไชยสัจ เลขที่ 124 รหัส…
การคลอดเฉียบพลันและการตกเลือดหลังคลอด
การคลอดเฉียบพลัน (Precipitous Labor)
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
แรงต้านทานของเนื้อเยื่อช่องทางคลอดไม่ดี
การหัดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกและกล้ามเนื้อหน้าท้องแรงผิดปกติ
ผู้คลอดครรภ์หลัง
ผู้คลอดที่มีเชิงกรานกว้าง
เคยมีประวัติคลอดเฉียบพลันหรือคลอดเร็ว
ผู้คลอดไม่มีความรู้สึกเจ็บปวดจากการคลอดหรือไม่รู้สึกอยากเบ่งซึ่งพบได้น้อยมาก
ทารกตัวเล็ก
ผู้คลอดไวต่อการใช้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
อาการและอาการแสดง
มีอาการเจ็บครรภ์อย่างมาก มดลูกมีการหดรัดตัวอย่างรุนแรงและถี่มากกว่า 5 ครั้ง ในเวลา10 นาที ตรวจภายในพบปากมดลูกเปิดขยายเร็ว ครรภ์แรกปากมดลูกเปิดขยายมากกว่าหรือเท่ากับ5 เซนติเมตร/ชั่วโมง ครรภ์หลัง ปากมดลูกเปิดมากกว่าหรือเท่ากับ 10 เซนติเมตร/ชั่วโมง
ภาวะแทรกซ้อน
มารดา
เนื้อเยื่อบริเวณช่องทางคลอดฉีกขาด มดลูกมีการเปลี่ยนแปลงจากขนาดใหญ่มาเป็นขนาดเล็กเร็วเกินไป
ตกเลือดหลังคลอด เสี่ยงต่อการตกเลือดหลังคลอดในระยะ 24 ชั่วโมงแรก จากการสูญเสียเลือดปริมาณมาก เนื่องจากมีการฉีกขาดของเนื้อเยื่อช่องทางคลอด และมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
อาจเกิดภาวะน้ำคร่ำอุดตันในหลอดเลือด
มดลูกแตกจากการหดรัดตัวของมดลูกอย่างรุนแรง
มีการคั่งของเลือดภายใต้ชั้นผิวหนังที่ฉีกขาด
ติดเชื้อที่แผลฝีเย็บ
ทารก
เลือดออกในสมอง
อาจเกิดความผิดปกติของกล้ามเนื้อแขนถูกดึงมากเกินไป
อาจเกิดภาวะขาดออกซิเจน
ทารกได้รับบาดเจ็บเนื่องจากการกระทบกระแทกเพราะช่วยคลอดไม่ทัน
การรักษา
การให้ยา
การผ่าตัด
รักษาตามอาการ
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ ได้แก่ ประวัติการคลอดเฉียบพลันหรือการคลอดเร็วในครรภ์ก่อน ความไวต่อการเร่งคลอด ลักษณะอาการเจ็บครรภ์ หรืออาการอื่นๆร่วมกับการเจ็บครรภ์
การตรวจร่างกาย
ตรวจภายใน
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
การฟังเสียงหัวใจทารก และติดตาม Electronic Fetal monitoring
ภาวะจิตสังคม
การตกเลือดหลังคลอด (Postpartum Hemorrhage)
การเสียเลือดมากกว่าหรือเท่ากับ 500 มิลลิลิตรจากการคลอดทางช่องคลอดหรือการเสียเลือดมากกว่าหรือเท่ากับ 500 มิลลิลิตรจากการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง หรือร้อยละ 1 ของน้ำหนักตัวของมารดาหลังจากคลอดระยะที่สามสิ้นสุดลง หรือความเข้มข้นของเลือดลดลงร้อยละ 10 ภายใน 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด และการสูญเสียเลือดของมารดาจากการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องที่มีปริมาณมากกว่า 1,000 มิลลิลิตร
ชนิด
Early or immediatePPH
การตกเลือดภายใน 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด เป็นสาเหตุของภาวะตกเลือดหลังคลอดที่พบได้มาก และบ่อยที่สุดประมาณ 4-6 % ของการตั้งครรภ์ทั้งหมดโดยประมาณ 80 %
Late or delayedPPH
การตกเลือดภายหลัง 24 ชั่วโมงจนถึง6 สัปดาห์หลังคลอด
อาการแสดง
ปริมาณเลือดที่เสีย10-15 % 500-1000 ml. Mild PPH ความดันโลหิตปกติ ใจสั่น มึนงง ชีพจรเร็ว
ปริมาณเลือดที่เสีย 15-25 % 1000-1500 ml.Severe PPH ความดันโลหิตต่ำเล็กน้อย 80-100 mmHg อ่อนแรง เหงื่อออก ชีพจรเร็ว
ปริมาณเลือดที่เสีย 25-35 % 1500-2500 ml.Severe PPH ความดันโลหิต 70-80 mmHg. กระสับกระส่ายซีดปัสสาวะออกน้อย
ปริมาณเลือดที่เสีย 35-40 % 2500-3000 ml.Very severe ormajor PPH 50-70 mmHg. หมดสติ
ขาดอากาศ ไม่มีปัสสาวะ
สาเหตุ
Tone
กล้ามเนื้อมดลูกยืดขยายมากเกินไป (Overdistention of uterus)
การตั้งครรภ์แฝด (Twins)
การตั้งครรภ์แฝดน้ำ (Polyhydramnios)
ทารกตัวโต (Fetal macrosomia)
การตั้งครรภ์และการคลอดตั้งแต่ 4 ครั้งขึ้นไป (Multiparity)
การได้รับยากระตุ้นการหดรัด ตัวของมดลูกเป็นเวลานาน (Prolonged oxytocin use)
การคลอดล่าช้า (Prolonged of labor)
Tissue
Trauma
Thrombin
ผลกระทบต่อทารก
ศีรษะของทารกได้รับอันตรายจากการรับทารกไม่ทัน
ทารกเสี่ยงต่อการเกิดภาวะเลือดออกในสมอง
เสี่ยงต่อการเกิดสายสะดือขาด
แนวทางการรักษา
Recognition and Prevention คือ การ รับรู้และการป้องกัน
Readiness คือ การเตรียมความพร้อม
Reporting and Learning คือ การรายงาน และการเรียนรู้
Response คือ การตอบสนอง
การประเมิน B-BUBBLE
Black ground and Body condition คือ การตรวจสอบประวัติการคลอด
Breast and Lactation คือ การประเมิน ลักษณะของเต้านม หัวนม
และการไหลของน้ำนม
Uterus คือ การประเมินระดับยอดมดลูก และการหดรัดตัวของมดลูก
Bladder คือ การประเมินกระเพาะปัสสาวะ
Bleeding or Lochia คือ ประเมินลักษณะ และปริมาณของเลือดหรือน้ำคาวปลาที่ออกจากช่องคลอด
Episiotomy คือ การประเมินบริเวณ ช่องทางคลอดและแผลฝีเย็บ
นางสาวอริญา ไชยสัจ เลขที่ 124 รหัส 602701125