Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย - Coggle Diagram
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
ลักษณะของกฎหมายและประเภทของกฎหมาย
ลักษณะของกฎหมาย
กฎหมายต้องมีลักษณะเป็นกฎเกณฑ์
กำหนดความประพฤติของคนในสังคมว่าถูกหรือผิด ทำได้หรือไม่ได้
กฎหมายต้องเป็นข้อบังคับที่เป็นมาตรฐานที่ใช้วัด
กฎหมายต้องกาหนดขึ้นโดยรัฐหรือผู้มีอานาจ
ต้องเป็นคำสั่งหรือข้อบังคับของผู้มีอานาจในรัฐ (รัฏฐาธิปัตย์)
กฎหมายต้องบังคับใช้โดยทั่วไป
เมื่อมีการประกาศใช้
บุคคลทุกคนต้องอยู่ภายใต้กฎหมายโดยเสมอภาค
จะมีใครอยู่เหนือกฎหมายไม่ได้
กฎหมายต้องมีสภาพบังคับ
เพื่อให้บุคคลนั้นปฏิบัติตาม
จึงจำต้องมีสภาพบังคับในกรณีที่มีการผ่าฝืนกฎหมาย
สภาพบังคับนั้นมีทั้งผลร้ายและผลดี
สภาพบังคับที่มีผลร้าย
2) จำคุก
3) กักขัง
1) ประหารชีวิต
4) ปรับ
สภาพบังคับที่มีผลดี
กรณีจดทะเบียนสมรส
ทำให้บุตรเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย
ระบบของกฎหมาย
ระบบกฎหมายจารีตประเพณี หรือระบบกฎหมายไม่เป็นลายลักษณ์อักษร (Common law system)
ระบบกฎหมายลายลักษณ์อักษร หรือระบบประมวลกฎหมาย (Civil law system)
ประเภทของกฎหมาย
กฎหมายมหาชน (Public Law)
กฎหมายปกครอง
กฎหมายอาญา
กฎหมายรัฐธรรมนูญ
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา :
ธรรมนูญศาลยุติธรรม
กฎหมายเอกชน (Private Law)
กฎหมายแพ่ง
กฎหมายพาณิชย์
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
กฎหมายระหว่างประเทศ (International Law)
แผนกคดีบุคคล
แผนกคดีบุคคล
แผนกคดีอาญา
ความหมายของกฎหมาย
ระเบียบ กฎเกณฑ์ ข้อบังคับ ที่รัฐหรือผู้มีอานาจกาหนดขึ้น
เพื่อควบคุมความประพฤติ/พฤติกรรมของมนุษย์ ที่อาจก่อให้เกิดเกิดความไม่สงบ
กฎหมายที่แบ่งโดยแหล่งกำเนิดของกฎหมาย
กฎหมายภายใน
องค์กรของรัฐที่มีอานาจในการบัญญัติกฎหมาย บัญญัติขึ้นใช้ภายในประเทศ
กฎหมายภายนอก
บัญญัติขึ้นโดยองค์การระหว่างประเทศ
กฎหมายที่แบ่งโดยเจตนารมณ์และเนื้อหาของกฎหมาย
กฎหมายสาธารณะสุข
กฎหมายการเงินการคลัง
กฎหมายระเบียบราชการ
กฎหมายธุรกิจ
กฎหมายที่แบ่งโดยลักษณะการใช้กฎหมาย
กฎหมายสารบัญญัติ
กฎหมายวิธีสบัญญัติ
กฎหมายที่แบ่งโดยสภาพบังคับทางกฎหมาย
กฎหมายอาญา
กฎหมายปกครอง
กฎหมายแพ่ง
ลำดับชั้นหรือศักดิ์ของกฎหมาย
รัฐธรรมนูญ (Constitutional Law)
กฎหมายที่มีศักดิ์สูงสุด
กำหนดรูปแบบการปกครองประเทศ
วางระเบียบอำนาจสูงสุดของรัฐหรืออานาจอธิปไตย
พระราชบัญญัติ พระราชกาหนด และประมวลกฎหมาย
2.1 พระราชบัญญัติ (พรบ.) (Act)
2.2 ประมวลกฎหมาย (Code of Law)
2.3 พระราชกาหนด (Royal Enactment)
พระราชกฤษฎีกา (Royal Decree)
พระราชกฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
พระราชกฤษฎีกาปิดประชุมสมัยวิสามัญแห่งรัฐสภา
กฎกระทรวง (Ministerial Regulation)
กฎหมายที่ออกโดยฝ่ายบริหาร
ไม่ต้องผ่านการพิจารณาเห็นชอบจากรัฐสภา
ระเบียบ และข้อบังคับ (Rule/Regulation/Discipline)
กฎหมายที่ออกโดยหัวหน้าหน่วยงานองค์กร
ผ่านความเห็นชอบจากผู้บริหารหน่วยงานหรือคณะกรรมการ
ประกาศและคาสั่ง (Announcement/Command)
กฎหมายที่ออกโดยหัวหน้าหน่วยงาน
อาศัยอานาจตามพระราชบัญญัติ
เพื่อปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัติ
ลักษณะของระบบศาลไทย
ระบบศาลคู่
ระบบศาลของประเทศไทย
ศาลยุติธรรม
2.1 ศาลชั้นต้น
ศาลแพ่ง
ศาลอาญา
2.2 ศาลอุทธรณ์ (Appeal Court)
2.3 ศาลฎีกา (Supreme Court)
ศาลปกครอง (Administrative Court)
ศาลรัฐธรรมนูญ
ศาลทหาร