Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบประสาท และไขสันหลัง, image, image, image,…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบประสาท และไขสันหลัง
Headache
Tension Headache
อาการ
รู้สึกเหมือนมีเชือกมารัด โดยไม่ผ่อนคลายเลย
กล้ามเนื้อของคอด้านหลังแข็งตึง
ความรุนแรงไม่สม่ำเสมอ ขึ้นๆลงๆ
อาการอยู่ต่อเนื่องหลายวัน
มีอาการปวดนานกว่า 15 วัน ใน1 เดือน
ปัจจัยกระตุ้น
ความอ่อนล้า
ความเครียด
Cluster Headache
พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย
บางครั้งจัดอยู่ในกลุ่ม Migraine
อาการ
ปวดรอบกระบอกตา เป็นๆหายๆ ติดต่อกันนาน
อาการปวดอยู่นานตั้งแต่ 15 นาที ถึง 3 ชั่วโมง
ลักษณะอาการปวดเป็นแบบปวดลึกๆน่ารำคาญ
อาจมี Honner’s sysdrome คือ รูม่านตามเล็ก เยื่อตาขาวสีแดง น้ำมูก น้ำตาไหล
อาการปวดจะหายไปเป็นเวลาหลายเดือนถึงหลายปี และเกิดมีอาการอีก
อาการจะมากขึ้น เมื่อดื่มแอลกอฮอล์
การรักษาและการดูแล
ให้ยา Prednisone, Lithium methysergide, Ergotamine และ Verapamil
การให้ออกซิเจน mask 9 liter/min หรือสูดดมออกซิเจน 100% นาน 15 นาที อาการปวดจะทุเลาลง
หยอด Lidocaine ชนิด 4% topical หรือ 2% viscous ทางจมูก
Migraine Headache
สาเหตุ เกิดจากหลอดเลือดหดตัวทำให้ขาดเลือดขึ้นไปสมอง
ปัจจัยกระตุ้น
ยาลดความเครียด
การอดอาหาร
กินอาหารที่มีสาร Tyramine
อาการ
ปวดศีรษะข้างเดียว ซึ่งเป็นด้านตรงข้ามกับข้างที่มีพยาธิสภาพ
ปวดแบบตุ๊บๆ และเห็นเส้นเลือดเต้น
กลัวแสง เสียง
เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
มีอาการเตือนทางตามาก่อนปวดศีรษะ 20 นาที เช่น เห็นแสงวูบวาบ
อาการปวดจะหายภายใน 4 – 72 ชั่วโมง
การรักษาและการดูแล
จัดสิ่งแวดล้อมที่สงบ ไม่มีแสงมาก
ให้ยา Aspirin หรือ Paracetamol
Ergotamine ทางทวารหนัก
Dihydroergotamine ทางหลอดเลือดดำ
โรคลมชัก (Epilepsy)
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
เกิดจากการขัดขวาง Neuron cell membrane ซึ่งมีสาเหตุจาก
การได้รับการบาดเจ็บที่ศีรษะอย่างรุนแรง
มีการทิ่มแทงเข้าไปในเนื้อสมอง (50%)
ความพิการของสมองตั้งแต่เกิด การบาดเจ็บของสมอง ระหว่างคลอด
ปัญหาเกี่ยวกับการเผาผลาญ เช่น ภาวะขาดออกซิเจน น้ำตาลในเลือดต่ำ แคลเซียมในเลือดต่ำ
ชนิดของการชัก
การชักเฉพาะที่ (Partial seizure)
การชักทั้งตัว (Generalized seizure)
การวินิจฉัย
การซักประวัติเกี่ยวกับการชัก
การตรวจพิเศษ
Electroencephalography (EEG)
CT Scan
MRI
การรักษา
การป้องกันอันตรายระหว่างชัก
ให้ยากันชักตามแผนการรักษา
การผ่าตัด (25%)
ภาวะชักอย่างต่อเนื่อง (Status Epilepticus)
ภาวะที่ผู้ป่วยมีการชักติดต่อกัน ชักเร็วติดๆกัน โดยไม่มีระยะรู้สึกตัวเลย ซึ่งมีระยะเวลาชักอย่างน้อย 30 นาที
สาเหตุ : ส่วนใหญ่เกิดจากการหยุดยาต้านการชักกะทันหัน
การรักษา
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง ให้ออกซิเจน
เฝ้าระวังอันตรายที่เกิดจากการชัก
ให้ยาต้านการชัก เช่น Diazepam 5 – 10 mg, Lorazepam 4 mg, Phenytoin 15 – 18 mg/Kg
subarachnoid hemorrhage (SAH)
สาเหตุ
Aneurysm
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
เป็นตั้งแต่กำเนิด
ผนังหลอดเลือดชั้นกลาง (Tunica media) อ่อนแอ
ความดันโลหิตสูง
หลอดเลือดแดงแข็ง และมีไขมันเกาะ (Atherosclerosis)
สูงอายุ
ความเครียด
พบในเพศหญิงมากว่าเพศชาย
อาการแสดง
อาการแสดงนำ
ปวดศีรษะ
สับสน
เวียนศีรษะ
อาการที่บ่งบอกว่าเกิด Aneurysm
ปวดศีรษะรุนแรง
ง่วงซึม สับสน หรือบางรายอาจหมดสติทันที
อาการของเยื่อหุ้มสมองถูกรบกวน เช่น คอแข็ง กลัวแสง
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจพิเศษ
การรักษา
จำกัดกิจกรรม
ควบคุมระดับความดันโลหิตให้คงที่ เพื่อให้สมองได้รับการกำซาบเพียงพอ
ประเมินอาการทางระบบประสาท
ติดตามคลื่นไฟฟ้าหัวใจ เพื่อประเมินการทำงานของหัวใจ
Arteriovenous Malformation (AVM)
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
เกิดขึ้นตั้งกำเนิด
ขาดหลอดเลือดฝอยเชื่อมระหว่าง Artery กับ Vein จึงเกิดทางลัด ตรงกลางเป็นเส้นแดงใหญ่ เรียกว่า “nidus”
อาการแสดง
ปวดศีรษะ
ชัก
มีเลือดออกในสมองน้อย
SAH
การรักษา
การรักษาคล้ายกับผู้ป่วย Cerebral Aneurysm
การผ่าตัด
ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง (IICP)
ปัจจัยส่งเสริมให้เกิด IICP
cerebral autoregulation สูญเสียไป
ภาวะคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดสูง (>45); vasodilatation
เนื้อเยื่อสมองมีเลือดไปเลี้ยงลดลง; ท่านอนไม่เหมาะสม
ภาวะออกซิเจนในเลือดต่ำ (<60)
ภาวะการบาดเจ็บต่อเนื้อเยื่อสมอง
Compensation mechanism of IICP
1.Volume
เพิ่มการขับน้ำหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลัง ในสมองและ เวนตริเคิล ลงสู่ไขสันหลัง
เพิ่มการดูดกลับและลดการสร้างน้ำหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลัง
มีการหดของหลอดเลือดสมอง และเพิ่มการไหลกลับของเลือดดำ
2.CBF
autoregulation of cerebral blood flow
ขนาดของหลอดเลือดจะขยายหรือหดตัว เพื่อให้ปริมาณเลือดหล่อเลี้ยงสมองอยู่ในระดับคงที่
แรงดันกำซาบเนื้อเยื่อสมอง (Cerebral perfusion pressure [CPP]) = 70-100 มิลลิเมตรปรอท
Clinical Manifestations IICP
1.ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง (ซึมลงหรือสับสน)
Cushing's triad; hypertension, bradycardia, irregular respiration
ความสามารถในการเคลื่อนไหวลดลง มี decorticate, decerebrate และกล้ามเนื้ออ่อนแรง
Assessment
การซักประวัติ : การบาดเจ็บ/เหตุการณ์ที่ทำให้เกิดความเจ็บป่วย อาการและอาการแสดง
การตรวจร่างกาย
3.Motor power; “6 grade”
4.การตรวจพิเศษอื่นๆ
Interventions
ติดตามค่า ICP, CPP, V/S & arterial pressure
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การรักษาด้วยยา
การดูแลเรื่องการหายใจ โดยใส่ท่อช่วยหายใจและใช้เครื่องช่วยหายใจ
temperature control
restrict fluids
Nursing diagnosis
แรงดันกำซาบเนื้อเยื่อสมองเปลี่ยนแปลง
แบบแผนการหายใจไม่มีประสิทธิภาพ
ความสามารถในการทำทางเดินหายใจโล่งไม่มีประสิทธิภาพ
แบบแผนการขับถ่ายเปลี่ยนแปลง
ไม่สุขสบายจากอุณหภูมิร่างกายสูง