Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพโรคเขตร้อน โรคติดต่อ…
การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพโรคเขตร้อน โรคติดต่อ และโรคอุบัติใหม่ (เพิ่มเติม)
Hepatitis
สาเหตุ
เกิดจากการเสียหน้าที่ของตับจากภาวะตับอักเสบ การบาดเจ็บที่ตับ ตับแข็ง ตับวาย และมะเร็งตับ
ตับอักเสบที่พบบ่อย (Viral Hepatitis) 3 ชนิด
Hepatitis A Virus (HAV)
Hepatitis B Virus (HBV)
Hepatitis Non A Non B (Hepatitis C Virus)
พยาธิสภาพ
การอักเสบ cell ตับมีลักษณะ huperpasia ของ Kupffer cell ร่วมกับมีการคั่งของน้ำดี และเกิด necrosis ซึ่งระยะในการอักเสบ แบ่งเป็น 3 ระยะ
Prodomal Stage
Icteric Stage
Recovery Period
Hepatitis A Virus (HAV)
ลักษณะและอาการที่สำคัญ HAV
เกิดจากเชื้อไวรัสชนิด RNA. ติดต่อได้ทาง feacal – oral transmission
กินอาหาร ดื่มน้ำไม่สะอาด ไม่ค่อยติดต่อทางเลือด(พบได้บ้าง)
ตรวจพบเชื้อในอุจจาระได้ 2 สัปดาห์ ก่อนแสดงอาการ และหลังจากตา
ตัวเหลือง 1 สัปดาห์
ส่วนใหญ่ไม่ทำให้เป็น Chronic hepatitis หรือ cirrhosis หรือ C.A liver ตรวจพบ antibody ทำให้มีภูมิต้านทานตลอดไป ไม่เป็น carrier
ใช้เวลาฟักตัว 15 – 50 วัน ติดต่อได้ในช่วงครึ่งหลังของการมีในระยะฟักตัว จนถึง 2 – 3 วัน หลังจากตัวเหลือง
Hepatitis B Virus (HBV)
ลักษณะอาการของ HBV
เกิดจากเชื้อไวรัสชนิด DNA. ฟักตัว 6 สัปดาห์ - 6 เดือน
ติดต่อได้ทางเลือด หรือ serum
ไม่พบเชื้อนี้ใน gastric content, bile, faces เพราะเชื้อถูกทำลายได้ด้วย intestinal mucosal enzyme
อาการจะรุนแรงกว่าชนิดอื่นๆ และมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
(nAnB): Hepatitis C Virus (HCV)
NAnB เชื้อที่เป็นสาเหตุไม่ทราบแน่ชัด อาการไม่รุนแรง ตรวจ serum ไม่พบ Anti HAV และ HBs Ag มีโอกาสเกิด Chronic Hepatitis และ cirrhosis ติดต่อได้ทั้งการรับประทานอาหารทางเลือด และ serum
การพยาบาล
สังเกตอาการไข้ อาการตา ตัวเหลือง อาการที่แสดงภาวะตับวาย
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการพักผ่อน งดทำกิจกรรม
ดูแลการได้รับอาหารที่มีคาร์โบไฮเดรตสูง
หลีกเลี่ยงไขมันทุกชนิด
บรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียน ถ้ามีอาการรุนแรงมาก ดูแลการได้รับยาแก้อาเจียนตามแผนการรักษา
ถ้ามีอาการรุนแรงมาก ดูแลการได้รับยาแก้อาเจียนตามแผนการรักษา
ติดตามผลการระมัดระวังการแพร่กระจายเชื้อโดยเฉพาะทางเลือด และสิ่งคัดหลั่ง
ให้คำแนะนำแก่ผู้ป่วยและครอบครัวเกี่ยวกับการป้องกันการติดเชื้อและแพร่กระจายเชื้อเช่น ฉีดวัคซีนตับอักเสบ ระมัดระวังเกี่ยวกับการรับประทานอาหาร
Ebola virus disease
เชื้อประจำถิ่นแถบประเทศ Africa โรคไวรัสอีโบลาจัดอยู่ในสกุล Ebolavirus
การแพร่กระจายเชื้อ
สัมผัสกับเลือดหรือสารน้ำร่างกายจากผู้ติดเชื้อโดยตรง
สัมผัสกับเวชภัณฑ์ที่ปนเปื้อน
พยาธิวิทยา
หลังติดเชื้อ สร้างไกลโคโปรตีนที่หลั่งออกมา (secreted glycoprotein, sGP) ชื่อ อีโบลาไวรัสไกลโคโปรตีน ก่อเป็นกลุ่มรวมไตรเมอร์ยึดไวรัสกับเซลล์เนื้อเยื่อบุโพรงตามผิวด้านล่างของหลอดเลือด sGP ก่อโปรตีนไดเมอร์ (dimer) รบกวน neutrophil ไวรัสแพร่กระจายปุ่มน้ำเหลือง ตับ ปอดและม้าม
เกิดการปล่อยไซโทไคน์ คือ TNF-α, IL-6, IL-8 ทำให้ความแข็งแรงของหลอดเลือด การเสียความแข็งแรงของหลอดเลือดนี้ยังส่งเสริมด้วยการสังเคราะห์ GP ซึ่งลดอินทีกริน (integrin) นำไปสู่ลิ่มเลือดผิดปกติ
อาการ
ปวดศีรษะ มีลิ่มเลือดกระจาย ท้องเสีย เลือดออก จ้ำเลือด
วินิจฉัย
ตรวจหาอาร์เอ็นเอไวรัสโดยปฏิกิริยาลูกโซ่พอลิเมอเรส(PCR) และการตรวจหาโปรตีนโดยวิธีอีไลซา (ELISA)
ภาวะแทรกซ้อน
อวัยวะล้มเหลว เลือดออกรุนแรง ดีซ่าน สับสน ชัก โคม่าหมดสติ ช็อค
การรักษา
รักษาสมดุลของเหลวและอิเล็กโทรไลต์เพื่อป้องกัน
ภาวะขาดน้ำ
การให้
สารกันเลือดเป็นลิ่ม
การป้องกัน
กำจัดไวรัสอีโบลาได้ด้วยความร้อน หรือต้มเป็นเวลา 5 นาที
แยกผู้ป่วย และการสวมเสื้อผ้าป้องกัน
ไม่สัมผัสกับเลือดหรือสารคัดหลั่งที่ติดเชื้อ
โรคไข้หวัดใหญ่ (Human influensa)
สาเหตุ
ติดเชื้อ Influensa virus มี RNA 3 ชนิด ชนิด A,B,C
A แหล่งเชื้อโรค คือ นกน้ำตามธรรมชาติ
ระยะฟักตัวของโรค 1- 4 วัน หลังรับเชื้อโรคไข้หวัดใหญ่
Signs and Symptoms of Flu
Fever* or feeling feverish/chills
Cough
Sore throat
Runny or stuffy nose
Muscle or body aches
Headaches
Fatigue (very tired)
การแพร่กระจายเชื้อโรค
การกระจายสู่คนทางละอองฝอย
สัมผัสโดยตรงกับสิ่งคัดหลั่งต่าง ๆ ที่ปนเปื้อน
ภาวะแทรกซ้อน
ระบบทางเดินหายใจ Ottitis media , Pneumonia
ระบบหัวใจ Myocarditis,Pericarditis
ระบบประสาท Encephalitis
,Guillain Barre Syndrom
การวินิจฉัย
ตรวจสารคัดหลั่งภายใน 72 ชั่วโมง
ตรวจหา RNA ของ Virus ด้วย RT-PCR
ตรวจน้ำเหลืองหา Antibody โดยเจาะห่าง 2 สัปดาห์ Antibody จะเพิ่มขึ้น 4 เท่า
ตรวจหาแอนติเจน DIA,IFA
การรักษา
ให้ยาต้าน Antiviral teatment
ให้ภายใน 48 ชั่วโมงแรกของอาการป่วย
ให้ในผู้ป่วยที่มีความเสี่ยง
ยาต้านมี 2 กลุ่ม
กลุ่ม 1 amantadine และ Rimantadin
กลุ่ม 2 Neuraminidase inhibitor
การพยาบาล
พักผ่อนมากๆ และอยู่ในห้องที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก
ลดไข้ผู้ป่วย
การล้างมือ
กินอาหารที่มีประโยชน์และย่อยง่าย ควรดื่มน้ำมากๆ
ปิดจมูก ปาก เวลาไอหรือจาม และบ้วนน้ำลายลงในภาชนะที่ใส่ยาฆ่าเชื้อโรค
ควรพบแพทย์และปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์
ควรหยุดพักงานหรือการเรียนชั่วคราว จนกว่าจะหายเป็นปกติ เพื่อป้องกันการแพร่ของเชื้อโรค
ควรจัดให้ผู้ป่วยอยู่ห้องแยก
เชื้อไข้หวัดนก ( Avian influenza)
ระยะฟักตัวในคนสั้น ประมาณ 1 ถึง 3 วัน
อาการ
มีไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้ออ่อนเพลียมีน้ำมูกไอและเจ็บคอบางครั้งพบว่ามีอาการตาแดง
อาการแทรกซ้อนจะมีอาการรุนแรงถึงปอดบวมและเกิดระบบหายใจล้มเหลว (Acute espiratory Distress Syndrome)
การวินิจฉัยไข้หวัดนก
มีไข้มากกว่า 38 องศา
มีอาการทางเดินระบบหายใจ เช่น ไอ เจ็บคอ หายใจหอบ และ
ประวัติสัมผัสกับสัตว์ที่เป็นโรค หรือสัมผัสกับคนป่วยภายใน 10 วันก่อนเกิดอาการ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การเพาะเชื้อไวรัสจากสารคัดหลั่ง เช่นเสมหะ น้ำมูก
การตรวจสารคัดหลั่งด้วยวิธี PCR influenza type A ให้ผลบวก
ยาที่ใช้รักษา
Oseltamivir [tamiflu]
Zannamivir[Relenza]
วิธีป้องกันการระบาด
ต้องกำจัดแหล่งแพร่เชื้ออย่างรีบด่วน
ฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่เพื่อไม่ให้เชื้อกลายพันธุ์
คนที่สัมผัสไก่ที่เป็นโรคและมีไข้ต้องกินยาต้านไวรัส
. ผู้ที่ทำลายไก่ต้องสวมชุดเพื่อป้องกันการรับเชื้อ
ต้องมีระบบคัดกรองผู้ที่สงสัยว่าจะเป็นไข้หวัดนก
ผู้ป่วยที่มีอาการไอหรือจาม ต้องใช้ Tissue ปิดปากและจมูก
จัดให้มี Alcohol สำหรับเช็ดมือ
แยกผู้ป่วยที่มีอาการไอออกจากผู้อื่นอย่างน้อย 3 ฟุต
โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง(SARS)
สาเหตุ
เกิดจาก เชื้อไวรัสโคโรนา coronavirus (SARS-CoV)
ระยะฟักตัวของโรค
จะใช้เวลาประมาณ 2 ถึง 7 วัน โดยทั่วไปมักไม่เกิน 10 วัน
การติดต่อ
สัมผัสกับผู้ป่วย โดยเฉพาะของเหลว เช่น น้ำลาย น้ำมูก
อาการ
ไข้สูงมากกว่า 38 องศาเซลเซียส
ปวดเมื่อยตามร่างกาย
ปวดศีรษะมาก
อาการเจ็บคอ ไอแห้ง ๆ
ปอดบวมอักเสบ
อาการหายใจลำบาก
MERS-CoV
MERS-CoV หรือ EMC/2012 (HCoV-EMC/2012)
มีระยะฟักตัวตั้งแต่ 2 – 14 วัน ดังนั้นหากผู้ป่วยเริ่มมีอาการไข้สูงมากกว่า 38 องศาเซลเซียส ไอ หอบ หายใจเร็ว และภายใน 14 วันก่อนหน้ามีประวัติเดินทางไปในประเทศที่มีการระบาดของโรค
อาการแสดงของ Mers-CoV
สูง อาการไอ หายใจหอบมากกว่า 28 ครั้ง Oxygen saturation น้อยกว่า 90 และอาจเกิดภาวะปอดอักเสบ ไตวายทางเดินหายใจล้มเหลวเฉียบพลันอย่างรุนแรงจนทำให้เสียชีวิตในที่สุด
บางรายอาจมีอาการทางระบบทางเดินอาหารร่วมด้วย เช่นคลื่นไส้ อาเจียน ถ่ายเหลว
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ผลเอกซเรย์ ปอด: ลักษณะปอดอักเสบอาจพบภาพฉายรังสีไม่แตกต่างจากภาวะปอดอักเสบจากโรคอื่น
ตรวจหาเชื้อ MERS-CoV พบว่าการตรวจจากเสมหะให้ความไวในการตรวจพบเชื้อสูงกว่าการเก็บตัวอย่างจาก Nasopharyngeal Aspiration
reverse-transcriptase polymerase chain reaction (RT-PCR)
การรักษา/การดูแล
ให้ยาต้านไวรัส
ให้ยาปฏิชีวนะ กรณีมีปอดอักเสบ
รักษาตามอาการ
การป้องกัน
หลีกเลี่ยงการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยที่มีอาการ ไอ จาม หรือโรคติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ เฉียบพลัน
ควรล้างมือบ่อยๆด้วยน้ำและสบู่ โดยเฉพาะเมื่อสัมผัสกับสารคัดหลั่งจากผู้ป่วย หรือสิ่งแวดล้อมของผู้ป่วย รวมทั้งก่อนรับประทานอาหาร และหลังขับถ่าย
หลีกเลี่ยง การเข้าไปในพื้นที่ แออัด หรือที่ สาธารณะที่มีคนอยู่จำนวนมาก เพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดโรค
แนะนำให้ผู้ป่วยใส่หน้ากากอนามัย ปิดปากปิดจมูกเวลาไอหรือจาม
ปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยที่ดี ได้แก่ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ