Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:warning:Sexual Deviation :no_entry:, image, FaceQ1425641390875,…
:warning:
Sexual Deviation
:no_entry:
ความหมาย
:star:
ความผิดปกติทางเพศ
เป็นภาวะความเปลี่ยนแปลงหรือแปรปรวนไปของปฏิกิริยาทางเพศที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับการปฏิบัติกิจกรรมทางเพศ จุดมุ่งหมายทางเพศ และเอกลักษณ์ทางเพศ ทำให้ผู้ที่มีความผิดปกติทางเพศเกิดความทุกข์และมีปัญหาในการครองชีวิตคู่
สาเหตุ
:star:
การขาดความรู้เกี่ยวกับเพศศึกษาที่ถูกต้อง
ความกังวลเวลามีเพศสัมพันธ์ เช่น กลัวว่า จะทำได้ไม่ถูกใจภรรยา กลัวตั้งครรภ์กลัวเจ็บ
ความเคยชิน เช่น ก่อนแต่งงานร่วมเพศกับโสเภณีต้องรีบ ทำให้หลั่งอสุจิเร็ว
เทคนิคไม่ถูกต้อง เช่น เล้าโลมน้อยเกินไป ไม่มีการบอกกันว่า ชอบหรือไมช่อบอย่างไร
อาการและอาการแสดง
:star:
Sexual dysfunction
:red_flag:
Hypoactive Sexual Desire Disorders
= จินตนาการทางเพศหรือความต้องการที่จะมีกิจกรรมทางเพศลดลง (หรือไม่มี) ซึ่งเป็นอยู่ตลอดหรือเป็นช่วงๆ
Sexual Aversion Disorders
= การมีความรังเกียจอย่างมาก และหลีกเลี่ยงการถูกต้องอวัยวะเพศของคู่นอนโดยสิ้นเชิง (หรือแทบสิ้นเชิง)
Female Sexual Arousal Disorders
= ไม่มีการตอบสนองแบบมีการหล่อลื่น ขยายตัวของอวัยวะเพศที่เพียงพอต่อการตื่นตัวทางเพศ หรือไม่สามารถคงสภาวะนี้ได้จนสำเร็จกิจกรรมทางเพศ
Male Erectile Disorders
= ไม่มีการแข็งตัวของอวัยวะเพศ หรือไม่สามารถคงสภาวะนี้ได้จนสำเร็จกิจกรรมทางเพศ
Female Orgasmic Disorders
= การที่ไม่บรรลุจุดสุดยอดหรือถึงช้า หลังระยะตื่นตัวทางเพศตามปกติในระหว่างมีกิจกรรมทางเพศ
Male Orgasmic Disorders
= ผู้ป่วยไม่บรรลุจุดสุดยอดหรือถึงช้า หลังระยะตื่นตัวทางเพศตามปกติ ในระหว่างมีกิจกรรมทางเพศ
Premature Ejaculation
= มีการหลั่งน้ำอสุจิจากการกระตุ้นทางเพศเพียงเล็กน้อยก่อนการสอดใส่ ขณะสอดใส่ หรือในช่วงสั้นๆหลังการสอดใส่ และเกิดก่อนความต้องการของผู้นั้น
Dyspareunia
= การปวดอวัยวะเพศที่เกี่ยวข้องกับการร่วมเพศทั้งในเพศชายหรือหญิง
Vaginismus
= การเกร็งตัวของกล้ามเนื้อช่องคลอดช่วงหนึ่งในสามจากด้านนอกเข้าไป ทำให้รบกวนต่อการร่วมเพศ
Gender identity disorder
:red_flag:
การเอาแบบอย่างเพศตรงข้ามอย่างชัดเจนและเป็นอยู่ตลอด
มีความรู้สึกอึดอัดไม่สบายใจกับเพศของตน หรือรู้สึกว่าบทบาทตามเพศของตนเองไม่เหมาะสมอยู่ตลอด
ความผิดปกตินี้ไม่ได้เกิดขึ้นพร้อมกับภาวะที่มีลักษณะกายภาพทางเพศกำกวม
ความผิดปกตินี้ก่อให้ผู้ป่วยมีความทุกข์ทรมานอย่างมีความสำคัญทางการแพทย์หรือกิจกรรมด้านสังคม การงาน หรือด้านอื่นๆที่สำคัญบกพร่องลง
:red_flag:
Paraphilia
Voyeuristic Disorder
การแอบดูผู้อื่นเปลือยกายหรือร่วมเพศ
Exhibitionistic Disorder
การอวดอวัยวะเพศให้คนแปลกหน้าเพศตรงข้ามที่ไม่คาดคิด
Sexual Masochism Disorder
ตนเองเจ็บปวดหรือทนทุกข์ทรมาน
Sexual Sadism Disorder
การทำให้ผู้อื่นเจ็บปวดหรือเกิดความทุกข์ทรมาน
Pedophilic Disorder
การเกิดอารมณ์ทางเพศกับเด็กอายุไม่เกิน 13 ปี
Fetshistic Disorder
การเกิดอารมณ์ทางเพศกับสิ่งของที่ไม่ได้ใช้เพื่อกิจกรรมทางเพศ
Tranvestic Disorder
การสวมใส่เครื่องแต่งกายของเพศตรงข้าม
การบำบัดรักษา
:star:
การรักษาด้วยยา (Psychopharmacology)
ใช้ในรายที่มีอาการทางกาย และมีปัญหาทางอารมณ์มีอารมณ์วิตกกังวล(Anxiety) หรือซึมเศร้า(Depression)
การรักษาด้วยสิ่งแวดล้อม (Milieu therapy)
การให้ผู้ป่วยได้มีโอกาสเข้าร่วมกลุ่มกิจกรรมบำบัด จะช่วยให้ยอมรับนับถือตนเอง กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมได้มีสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น ได้รับความรู้เรื่องเพศศึกษา และการจัดการกับความเครียด
จิตบำบัด (Psychotherapy)
ช่วยให้ตระหนักรู้ตนเองและปัญหาของเขา กล้าพูดระบายความรู้สึกอย่างเปิดเผยตรงตามความรู้สึกที่แท้จริง และแสวงหาแหล่งช่วยเหลือที่เหมาะสม
การรักษาด้วย Sex therapy
โดยผู้บำบัดที่มีความเชี่ยวชาญทางเพศศึกษาโดยตรง และ
การรักษาด้วย Family therapy
จะช่วยให้แก้ไขพฤติกรรมและช่วยให้ผู้ป่วยและครอบครัวปรับตัวในการใช้ชีวิตร่วมกันได้
พฤติกรรมบำบัด (Behavior therapy)
เป็นการปรับพฤติกรรมที่เกิดจาการเรียนรู้มาอย่างไม่ถูกต้องเหมาะสม ให้เกิดการเรียนรู้ใหม่ในภาวะที่มีความผ่อยคลายทางใจ
:star:
การพยาบาล
สิ่งสำคัญคือพยาบาลต้องมีเจตคติที่ดีในเรื่องเพศ
สร้างสัมพันธภาพด้วยท่าทีที่ยอมรับ เข้าใจ และพร้อมที่จะรับฟัง ไม่ให้ผู้ป่วยรู้สึกว่าเป็นเรื่องน่าอาย
ให้ความสำคัญกับปัญหาปัจจุบันของผู้ป่วยก่อน เนื่องจากผู้ที่มีความผิดปกติทางเพศมักเข้ามารับการรักษาทางจิตเวชด้วยปัญหาทางจิตใจ
วิตกกังวล นอนไม่หลับ
ภาวะซึมเศร้า หรือ พยายามทำร้ายตนเอง
แนะแนวทางให้ผู้ป่วยได้รับข้อมูลในเรื่องเพศศึกษาอย่างถูกวิธี
ให้ความรู้เกี่ยวกับความผิดปกติทางเพศ สาเหตุ อาการ และการบำบัดรักษา วิธีการประเมินความแปรปรวน ทั้งทางร่างกายและจิตใจที่เกิดขึ้น เพื่อให้ผู้ป่วยเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นและสามารถที่จะรู้ได้ว่าอาการใดเป็นสิ่งที่บอกว่ามีปัญหาทางเพศ
แนะนำให้รู้จักการสื่อสารอย่างเหมาะสม และให้โอกาสผู้ป่วยได้ฝึกทักษะการมีสัมพันธภาพ โดยสร้างบรรยากาศที่เอื้ออำนวย ให้กำลังใจและให้แรงเสริม
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้พูด เล่าหรือระบายออก รวมทั้งให้คำแนะนำในการลดความเครียด และให้ผู้ป่วยได้ฝึกวิธีคลายเครียด เช่น การบริหารการหายใจ
ช่วยเสริมสร้างความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้ป่วยที่สัมพันธ์กับเรื่องเพศ โดยให้ผู้ป่วยได้พูดถึงตนเองในด้านบวก
ชนิดของความผิดปกติ
:star:
:red_flag:
Sexual dysfunction
= ภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงของปฏิกิริยาการตอบสนองทางเพศ ทัังในระยะความต้องการทางเพศ ระยะตื่นตัว และระยะถึงจุดสุดยอด หรือมีความเจ็บปวดขณะร่วมเพศ
:red_flag:
Gender identity disorder
= ภาวะที่มีความต้องการที่จะใช้ชีวิตแบบเพศตรงข้าม รวมทั้งการแสดงปฏิกิริยาและความรู้สึกแบบเพศตรงข้ามอย่างแน่ชัดและถาวร
:red_flag:
Paraphilia
= ภาวะที่มีพฤติกรรมทางเพศหรือมีความรู้สึกทางเพศที่ผิดไปจากบุคคลทั่วไปในการทำให้เกิดแรงกระตุ้นทางเพศและรุนแรงจนถึงขั้นเป็นพยาธิสภาพ