Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ - Coggle Diagram
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
ความรู้ทั่วไป
ในอดีตใช้เพื่อการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในระยะต่อมาได้ขยายขอบข่ายของการใช้งาน ครอบคลุมโรคไม่ติดต่อ การบาดเจ็บ ปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพและประยุกต์ใช้ในงานสาธารณสุขแขนงอื่นๆ
ความหมาย
กระบวนการเก็บรวบรวมวิเคราะห์และแปลผลข้อมูลทางสุขภาพอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ
ความสำคัญ
2.ติดตามการเกิดโรคหรือภัยที่เปลี่ยนแปลงและอาจจะเกิดอันตรายต่อชุมชน
3.ติดตามภาวะของผู้สัมผัสโรค
1.ตรวจพบโรคหรือภัยที่มีผลต่อสุขภาพของชุมชนอย่างรวดเร็ว
4.วัดระดับความสำคัญของปัญหาสาธารณสุข
ชนิด
การเฝ้าระวังเชิงรุก
เพิ่มโอกาสที่จะได้ข้อมูลการเกิดโรคมากขึ้น
การเฝ้าระวังตัวแทน
การเฝ้าระวังในประชากร เช่นการเฝ้าระวังติดเชื่อ HIV ในผู้ใช้ยาเสพติดชนิดฉีด
การเฝ้าระวังเชิงรับ
รายงานผู้ป่วยที่มารับบริการเป็นปกติประจำตามเวลาที่กำหนด รง 506
การเฝ้าระวังเฉพาะ
การเฝ้าระวังที่มีขึ้นเพื่อดำเนินการกับเรื่องเฉพาะ เช่นการเฝ้าระวังสาเหตุการเสียชีวิตของผู้ประสบภัยน้ำท่วม
แหล่งข้อมูล
5.รายงานการสอบสวนโรคเฉพาะราย
6.รายงานการสอบสวนการระบาด
4.รายงานผลการตรวจจทางห้องปฏิบัติการ
7.การสำรวจ
3.รายงานการระบาด
8.ข้อมูลสัตว์รังโรค
2.รายงานการป่วย
9.ข้อมูลเวชภัณฑ์
1.รายงานการตาย
10.ข้อมูลสิ่งแวดล้อมและประชากร
ประโยชน์
4.ตรวจพบปัญหาข้อบกพร่องในการป้องกัน
5.ชี้แนะหาแนวทางที่ถูกต้องเหมาพสมในกรควบคุมป้องกันโรค
3.ใช้จัดเรียงลำดับความสำคัญของปัญหาสาธารณสุขในชุมชนและจัดสรรทรัพยากรให้เหมาะสม
6.ชี้แนะแนวทางในการบำบัดรักษาพยาบาลผู้ป่วยให้ได้ผลดี
2.ติดตามแนวโน้มสถานการณ์ของปัญหาโรค
7.เร่งรัดการดำเนินงานของวงการสาธารณสุข
1.ทำให้ค้นพบปัญหาโรค
ขั้นตอนการดำเนินงาน
2.การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูลเฝ้าระวัง
วิเคราะห์แนวโน้มของการเกิดโรค
เปรียบเทียบระกว่างข้อมูลอย่างน้อย 2 จุดข้อมูล
วิเคราะห์ข้อมูลเฝ้าระวังตามระบาดวิทยาเชิงพรรณา
ด้านสถานที่
ด้านบุคคล
ด้านเวลา
วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการเฝ้าระวังโรค
ค่าของข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน
ค่าของข้อมูลที่คาดว่าจะเป็น
3.การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารการเฝ้าระวัง
ช่องทางการเผยแพร่
เว็บไซด์
รายการวิทยุโทรทัศน์
การเผยแพร่ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ
โซเชียลมีเดียต่างๆ
การนำเสนอในที่ประชุมของหน่วยงานหรือสไลด์
กลุ่มเป้าหมาย
นักวิทยาศาสตร์ในห้องปฏิบัติการเภสัช
นักวิเคราะห์และวางแผนนโยบาย
ผู้บริหารระดับสูงรวมทั้งนักการเมือง
แพทย์ พยาบาล
สื่อมวลชน
บุคลากรสาธารณสุข
ประชาชนทั่วไป
1.การเก็บรวบและเรียบเรียงนำเสนอข้อมูลเฝ้าระวัง
การเรียบเรียงนำเสนอข้อมูล
รูปแบบตาราง
รูปแบบกราฟ
รูปแบบแผนที่
การตรวจสอบข้อมูล
ความถูกต้องของบัตรรายงาน
ความทันเวลาของการส่งรายงาน
ความครอบคลุมของจำนวนหน่วยรายงาน
ความซ้ำซ้อนของข้อมูล
ความครบถ้วนของจำนวนที่ได้รับและตัดระเบียบที่ซ้ำซ้อน
ธรรมชาติการรายงานโรคและการเฝ้าระวังเหตุการณ์
ธรรมชาติการรายงานโรค
ผู้ป่วยส่วนน้อยที่มารักษาที่สถานีอนามัยหรือโรงพยาบาล
ผู้ป่วยจำนวนมากที่อยู่ในชุมชนไม่ได้มารักษาที่โรงพยาบาล
การเฝ้าระวังเหตุการณ์
เป็นระบบเฝ้าระวังและภัยสุขภาพรูปแบบหนึ่ง เฝ้าระวังโดยใช้ข้อมูลเริ่มต้นในรูปแบบของข่าวจากทุกแหล่งข่าว
จะช่วยเสริมประสิทธิภาพการเฝ้าระวังโรคในระบบปกติ(รง 506)ที่มีอยู่
เป้าหมาย
แจ้งเร็ว
ควบคุมโรคเร็ว
รู้เร็ว