Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับ…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับ ความผิดปกติของสมอง และไขสันหลัง
การรประเมินทางระบบประสาท
การซักประวัติ
อาการสำคัญ (Chief complain)
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน (Present illness)
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต (Past illness)
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว (Family history)
การตรวจร่างกายทางระบบประสาท
การตรวจร่างกายทั่วไป (General Appearance)
ระดับความรู้สึกตัว (level of consciousness : LOC)
การประเมินระดับความรู้สึกตัวกลาสโกว์ (Glascow Coma Scale)
การตรวจความตึงตัวของของกล้ามเนื้อ (Motor power)
การตรวจปฏิกิริยารูม่านตา (Pupillary response)
การประเมินสัญญาณชีพ
การตรวจเส้นประสาทสมอง
Doll’s eyes sign
Babinski’s reflex
Corneal reflex
Gag reflex (รีเฟล็กซ์การกลืน)
การตรวจอาการแสดงที่เกิดจากการระคายเคืองของเยื่อหุ้มสมอง
โรคติดเชื้อทางระบบประสาท
เยื้อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis)
สาเหตุ
ติดเชื้อแบคทีเรีย
Meningococci (Neisseria meningitis)
Pneumococci (Strepococcus pneumonia)
Haemophilus influenzae
การบาดเจ็บของสมอง
การติดเชื้อในร่างกาย
การติดเชื้อหลังผ่าตัดสมอง
การติดเชื้อในเยื้อหุ้มสมอง
การฉีดยาเข้าทางไขสันหลัง
อาการแสดง
คอแข็ง (Stiff neck)
Brudzinski’s sign
Kernig’s sign
มีไข้ ปวดศีรษะ หนาวสั่น
คลื่นไส้ อาเจียน
เมื่อการดำเนินโรคมากขึ้น
ผลตรวจ CSF พบ
น้ำไขสันหลังสีขุ่น
ผล Gram stain พบ 70 – 80 %
ความดันของ CSF สูงขึ้นปานกลาง
ค่าโปรตีนใน CSF สูงขึ้น (ปกติ 15 – 45 mg/dl)
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะช็อคจากการติดเชื้อ (Septic shock)
ความดันในกะโหลกศีรษะสูง (IICP)
สมองบวมน้ำ (Brain swelling)
Hydrocephalus
การรักษาและการดูแล
การให้ยาปฏิชีวนะ (Antibiotic) ได้แก่ Cephalosporins, Rifampicin และ Vancomycin โดยให้อย่างน้อย 10 วัน
(** ถ้าทราบว่าเป็นติดเชื้ออะไร ก็ใช้ยาปฏิชีวนะที่ Sensitive)
รักษาสมดุลของสารน้ำ และอิเล็กโทรไลด์ในร่างกาย
ประเมินอาการทางระบบประสาท
เฝ้าระวังภาวะชัก และเตรียมความพร้อมเพื่อให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยเมื่อเกิดภาวะชัก
ฝีในสมอง (Brain Abscess)
สาเหตุ
เกิดจากการลุกลามของการอักเสบบริเวณใกล้เคียง เช่น หู Nasal sinus, Mastiod sinus, หัวใจ, ปอด และอวัยวะอื่นๆ
เกิดหลังได้รับการผ่าตัดภายในกะโหลกศีรษะ
เชื้อที่พบบ่อย คือ Staphylococci และ Toxoplasma (ในผู้ป่วย HIV)
อาการแสดง
ปวดศีรษะ ง่วงซึม สับสน
มีไข้ หนาวสั่น
ความดันในกะโหลกศีรษะสูง
ความผิดปกติของระบบประสาทชั่วคราว เช่น อ่อนแรงซีกใดซีกหนึ่ง พูดไม่ได้
การวินิจฉัย
CT
MRI
การรักษาและการดูแล
ให้ยาปฏิชีวนะ ที่นิยมให้ คือ Penicillin
ให้ยาปฏิชีวนะร่วมกับการผ่าตัด
stereotactic (การใช้เข็มดูดออกร่วมกับเครื่อง CT)
เนื้องอกสมอง (Brain Tumors)
ระบาดวิทยา (Epidermiology)
พบได้ 2% ของเนื้องอกทุกชนิด 10% ของเนื้องอกชนิดร้ายแรง (Malignant Neoplasm)
ส่วนใหญ่ เป็นเนื้องอกปฐมภูมิที่สมอง (Primary Brain Tumor)
ชนิดที่พบมากที่สุด คือ Glioma (Glioblastoma multiforme)
ในผู้ใหญ่มักเป็นเนื้องอกในตำแหน่ง Supratentorium (70%)
ในเด็กมักเป็นเนื้องอกในตำแหน่ง Infratentorium (70%)
เพศชายมากกว่าเพศหญิง 7 : 3 (ยกเว้นMeningioma พบในเพศหญิง>เพศชาย)
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง(Etiology)
พันธุกรรม (Genetic)
สิ่งแวดล้อม (Environment) เช่น สารเคมี
บาดเจ็บที่ศีรษะ (Head trauma)
การฉายรังสี (Radiation)
เชื้อไวรัส (Virus)
เคมีบำบัด (Immunosuppressant)
อาการแสดงทางคลินิก
อาการสูญเสียหน้าที่ของสมองบางส่วน (Focal Neurological Deficit)
อาการปวดศีรษะ
อาการแสดงของการเพิ่มความดันในกะโหลกศีรษะ
อาการเปลี่ยนแปลงของความรู้สึกตัว
อาการชัก
อาการของการเปลี่ยนแปลงฮอร์โมนผิดปกติ เมื่อมีเนื้องอกต่อมใต้สมอง(Pituitary)
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
และตรวจร่างกาย
การตรวจพิเศษ
CT-scan
MRI
การรักษา
การผ่าตัดรักษา
การใช้รังสีรักษา
การให้เคมีบำบัด
การรักษาด้วยยา:Steroid
กายภาพบำบัด
6.การป้องกันและรักษาโรคแทรก