Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง - Coggle Diagram
อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง
ความเป็นมา
มีเค้าเรื่องมาจากชวาเรียกว่า " นิทานปันหยี " ได้รับมาตั้งแต่สมัยอยุธยา
ผู้แต่ง
ร.2 หรือ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
จุดประสงค์
ใช้แสดงละครในหรือละครรำซึ่งใช้ผู้หญิงแสดงล้วน
ลักษณะคำประพันธ์
กลอนบทละคร ลักษณะเหมือนกลอนสี่สุภาพ ขึ้นต้นด้วย เมื่อนั้น บัดนั้น มาจะกล่าวบทไป
ความสุนทรีของงานประพันธ์
คุณค่าด้านต่างๆ
คุณค่าด้านวรรณศิลป์
คำพ้องรูป
นางนวลจับนางนวลนอน คำพ้องรูปคือ นวลความหมายที่หนึ่งคือนกนางนวล ความหมายที่สองคือ ผู้หญิง
การใช้คำศัพท์ภาษาชวา
ตุนาหงัน : หมั้นหมาย ระตุ : เจ้าเมืองเล็กๆ
การใช้คำไวพจน์
อุปมา
การเปรียบเทียบ เช่น พี่ประจักษ์ดังสายนำ้ไหล คำว่า ดัง เป็นคำอุปมา
อุปลักษณ์
การเปรียบเทียบให้เป็น เช่น หวังเป็นเกือกทองรองบาทา คำว่า เป็น เป็นอุปลักษณ์
คำพ้องความหมาย
ภูมี ภูวไนย
อติพจน์
คำกล่าวเกินจริง เช่น ได้ฟังกริ้วโกรธดังเพลิงกัลป์
สัมผัส
สัมผัสสระ
รัก-สลัก หลัง-กัง รวน-หวน นึก-ตรึก
สัมผัสอักษร
เอน-องค์ กร-เกย-ก่าย วิล-หวัง รส-รัก-ร้อน-รน
ลีลาในการแต่งบทประพันธ์
พิโทวาทัง
ตอนท้าวกะหมังกุหนิงแสดงความโกรธเมื่อท้าวดาหาไม่ยกนางบุษบาให้วิหยาสะกำ
นารีปราโมทย์
ตอนอิเหนาโลมนางจินตะหรา เมื่อลาไปทำศึกปะดาเมือง
เสาวรจนี
ตอนกวีแต่งชมการแต่งกายของกะหวัดตะปะตี
สัลลาปังคพิสัย
ระตุปาหยันและวิตุปาหมันโศกเศร้าเมื่อไปดูศพพระเชษฐา
ด้านสังคม
การแต่งตัวตามวันเวลา
กะหวัดตะปาตีแต่งตัวก่อนไปทำศึก
บุพเพสันนิษวาส
ท้าวกะหมังกุหนิงส่งราชทูตไปสู่ขอนางบุษบาเพราะเป็นบุพเพสันนิษวาส
บุญกรรม
ท้าวกะหมังกุหนิงกล่าวว่าจะยกทัพไปรบเมืองดาหาสุดแต่บุญกรรม
พิธีกรรม
พิธีเบิกโขนทวาร พิธีฟันไม้ข่มนาม
ฤกษ์ยาม
โหรทำนายดวงชะตาดูฤกษ์ยามให้ท้าวกะหมังกุหนิง
คุณค่าด้านเนื้อหา
โครงเรื่อง 1 แนวคิดของเรื่อง แสดงถึงความรักของพ่อที่มีต่อลูก 2 ฉาก เรื่องของชวา ผู้แต่งได้แต่งให้สอดคล้องกับธรรมเนียมประเพณี 3 ปมขัดแย้ง เป็นเรื่องที่อาจเกิดได้ในชีวิตจริง สมเหตุสมผล เช่น ปมที่ท้าวกุเรปันจะให้อิเหนาแต่งงานกับนางบุษบา แต่อิเหนาไม่ยอมเพราะหลงรักนางจินตะหรา 4 กลวิธีในการแต่ง จินตภาพ กวีทำให้ผู้อ่านคิดภาพตามได้ 5 ความรู้ความคิด ความเชื่อ ประเพณี
ความรู้เสริม
กษัตริย์วงศ์เทวามีมเหสีได้5องค์
มะโต
ลิกู
มะเดหวี
เหมาเหราหงี
ประไหมสุหรี
สำนวนไทยที่ว่า ว่าแต่เขาอิเหนาเป็นเอง
การต่อว่าผู้อื่นว่าทำในสิ่งผิด แต่ตนเองกลับประพฤติผิดแบบนั้นเสียเอง
ที่มา พฤติกรรมของอิเหนาที่ต่อว่าผู้อื่นที่มารักนางบุษบา แต่ตนเองกลับรักนางบุษบาเสียเองจนทำอุบายชิงตัวนาง
ตัวละครที่สำคัญ
อิเหนา ท้าวดาหา ท้าวกุเรปัน นางบุษบา อิหยาสะกำ ท้าวกะหมังกุหนิง