Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลบุคคลที่มีความบกพร่อง ของสติปัญญา และภาวะกล้ามเนื้ออ่อนแรง -…
การพยาบาลบุคคลที่มีความบกพร่อง
ของสติปัญญา และภาวะกล้ามเนื้ออ่อนแรง
โรคพาร์กินสัน (PARKINSON'S DISEASE)
สาเหตุ
เกิดจากการเสื่อมและตายไปของเซลล์สมองที่สร้างสารโดปามีน จนไม่สามารถสร้างสารโดปามีนได้เพียงพอ
ร่างกายขาดสารโดปามีนในสมอง พบได้บ่อยในผู้สูงอายุทั้งชายและหญิง
อาการ
กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง (rigidity)
เคลื่อนไหวช้า (brady kinesia)
อาการสั่น(tremor)
อาการทรงตัวลำบาก (postural instability)
อาการอื่นๆ
เขียนตัวหนังสือยากขึ้น
แสดงสีหน้าเฉยเมย
การกลอกตากระตุก
ท่าเดินผิดปกติ
น้ำลายไหล
ผู้ป่วยโรคพาร์กินสันมักมีอาการซึมเศร้า และนอนไม่หลับ
เสียงพูดเครือๆ
การรักษา
การรักษาโดยการใช้ยา
การรักษาด้วยการทำกายภาพบำบัด
ขณะนี้ยังไม่มีวิธีการรักษาใด
การผ่าตัดสมอง
ALZHEISMER’S
สาเหตุ
ยังไม่ทราบแน่ชัด
ปัจจัยเสี่ยง
ประวัติการป่วยภายในครอบครัว
อายุ
ป่วยด้วยโรคดาวน์ซินโดรมหรือพากินสัน
อาการและอาการแสดง
อาการทางเชาวน์ปัญญา (cognitive aspect)
พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงร่วมกับอาการทางจิต (behavioural and
psychological symptom of dementia)
การรักษา
โรคนี้ยังไม่มีการรักษาที่แท้จริง
การรักษาส่วนใหญ่เพื่อบรรเทาอาการที่เกิดขึ้น เช่น การทำกายภาพบำบัด
การรับประทานอาหารที่เหมาะสม
การให้ยาสามารถช่วยลดความกังวล จะช่วยให้ผู้ป่วยนอนหลับและสามารถทำ
กิจกรรมต่างๆ ได้
MULTIPLE SCLEROSIS
สาเหตุ
ยังไม่ทราบแน่ชัด พบบ่อยในช่วงอายุ 30-40 ปี แต่เชื่อว่าเกี่ยวข้องกับปัจจัย
ดังต่อไปนี้
การอักเสบติดเชื้อจากไวรัสอย่างช้าๆ
กรรมพันธุ์
ภูมิคุ้มกัน
สภาพแวดล้อมยังไม่ทราบปัจจัยที่แน่นอน
อาการและอาการแสดง
กล้ามเนื้อใบหน้าส่วนครึ่งล่างอ่อนแรง
การเห็นผิดปกติ เห็นภาพซ้อน ภาพมัว หรือสายตาเสื่อมลง
การรับความรู้สึกผิดปกติรวมถึงอาการชาและอาการเสียวแปลบของ
แขนขา ลำตัวหรือใบหน้า
ระบบการขับถ่ายเสียหน้าที่
พูดตะกุกตะกัก ลูกตากระตุก
ความผิดปกติทางด้านอารมณ์และจิตใจ
แขนขาอ่อนแรง
การรักษา
การรักษาทางยา ส่วนใหญ่แพทย์จะให้ยาลดอาการกล้ามเนื้อกระตุก
ให้ยาลดสภาพของอารมณ์ที่ไม่มั่นคง
การให้ ACTH(adrenocorticotrophic hormone), Prednisolone,
Dexamethasone เพื่อลดภาวะบวมของมัยอิลิน
การทำกายภาพบำบัด
GUILLAIN-BARRE SYNDROME (GBS)
สาเหตุ
ยังไม่ทราบแน่นอน เชื่อว่าเกิดจากภูมิต้านทานของ
ตนเองที่ร่างกายสร้างขึ้นภายหลัง
การติดเชื้อของระบบทางเดินอาหาร
คางทูม หัด อีสุกอีใส
การติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจ
ภายหลังการได้รับวัคซีนโรคไข้หวัดใหญ่
อาการและอาการแสดง
อาการของกล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการลุกลามของประสาทสมอง
อาการทางด้านประสาทรับความรู้สึก
อาการลุกลามของประสาทอัตโนมัติ
การดำเนินโรค
ระยะอาการคงที่ (Static phase)
เป็นระยะที่ความเสื่อมคงที่
ร่างกายไม่มีอาการเปลี่ยนแปลงอาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อจะไม่ดีขึ้น แต่ไม่เลวลง อาการเจ็บปวดและอาการชาจะเริ่มลดลง ใช้เวลาตั้งแต่
2-3 วัน จนถึง 2-3 สัปดาห์
ระยะฟื้นตัว(Recovery phase)
ระยะเฉียบพลัน(Acute phase)
เป็นช่วงที่อาการดำเนินจนถึง
จุดรุนแรง ใช้เวลานานประมาณ 1-3 สัปดาห์อาการแสดงที่สำคัญ คือ
กล้ามเนื้ออ่อนแรงมาก อาจจะถึงเป็นอัมพาตอย่างสมบูรณ์
การรักษา
การช่วยหายใจในผู้ป่วยที่มีภาวะการหายใจล้มเหลว
การให้ยากลุ่มสตีรอยด์
การเปลี่ยนถ่ายพลาสม่า (plasmapheresis)
MYASTENIA GRAVIS
สาเหตุ
เชื่อว่ามีความสัมพันธ์กับออโตอิมมูน (autoimmune) หรือ
ภูมิต้านทานที่เกิดกับอวัยวะของตัวเอง
อาจพบร่วมกับคนที่มีต่อมไทมัส (thymus gland) โต
เกิดจากความผิดปกติของการท างานของกล้ามเนื้อ (โดยที่
กระแสประสาทไม่สามารถส่งทอดไปสั่งการให้กล้ามเนื้อทำงานได้)
อาการและอาการแสดง
ถ้าเป็นมากขึ้น อาจมีอาการพูดอ้อแอ้ กลืนลำบาก พูดเสียงขึ้นจมูก หรือ
อาจมีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ร่วมด้วย
อาการหนังตาตก (ptosis)
ในรายที่เป็นมาก อาจมีอาการอ่อนแรงของแขนขาบางส่วนจนลุกขึ้นยืนหรือเดินไม่ได้ และถ้าเป็นรุนแรงก็อาจทำให้กล้ามเนื้อช่วยหายใจเป็นอัมพาต
หยุดหายใจตายได้
การรักษา
คอร์ติโคสตีรอยด์ เนื่องจากเชื่อว่า มายแอสทีเนียกราวิสเกิดจากความผิดปกติ
ทางด้านอิมมูน จึงใช้ให้สเตียรอยด์เพื่อกดการสร้างอิมมูนที่ผิดปกติ
รายที่ตรวจพบว่ามีต่อมไทมัสโตร่วมด้วย อาจต้องผ่าตัดเอาต่อมไทมัสออก
(thymectomy) ซึ่งอาจจะช่วยให้อาการดีขึ้น
การให้Anticholinesteraseได้แก่เมสตินอล (Mestinon) หรือพรอสติกมิน (Prostigmin)
การเปลี่ยนพลาสม่า (plasmapheresis)