Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 หลักโภชนบำบัด - Coggle Diagram
บทที่ 2 หลักโภชนบำบัด
โภชนบำบัด
วัตุประสงค์ของการให้โภชนบำบัด
ป้องกันการกำเริบของโรคที่เกิดจากการรับสารอาหารบางชนิดมากเกินไป
งดอาหารที่ผู่ป่วยเคยแพ้
ให้สารอาหารอย่างเพียงพอทั้งชนิดและปริมาณ
เพื่อช่วยให้ร่างกายสามารถย่อยและดูดซึมสารอาหารนำไปใช้ได้
ควบคุมน้ำนักเพิ่มหรือลดให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
เพื่อดงรงและส่งเสริมภาวะโภชนาการ
ดัดแปลงอาหารให้เหมาะกับการที่ร่างกายของผู้ป่วยจะนำไปใช้ประโยชน์ได้
การใช้อาหารและความรู้ด้านโภชนศาสตร์รักษาโรคของผู้ป่วย
ความสำคัญและบทบาทของอาหารต่อการบำบัดโรค
ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล
เพื่อป้องกันและชะลอการเกิดโรคแทรกซ้อนจากการเจ็บป่วย
เพื่อบรรเทาอาการที่เป็นอยู่ให้ลดความรุนแรงลง
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับอาหารที่ถูกต้องและเหมาะสมกับภาวะของโรคที่เป็นอยู่
เพื่อส่งเสริมการรักษาทางการแพทย์ให้ได้ผลดียิ่งขึ้น
อาหารประเภทต่างๆที่ให้ทางปาก
อาหารทั่วไป(General Diet)
อาหารอ่อน
อาหารธรรมดา
อาหารธรรมดาย่อยง่าย/อาหารผู้ป่วยพักฟื้น
อาหารเหลว(อาหารเหลวใส อาหารเหลวน้ำข้น)
อาหารเฉพาะโรค(Special Diet) หรืออาหารบำบัดโรค(Therapeutic Diet)
อาหารธรรมดา (Normal Diet)
เป็นอาหารสำหรับผู้ป่วยที่การย่อยเป็นปกติ
ข้าวสวยที่หุงนุ่มๆไม่แข็งกระด้าง แกงชนิดต่างๆรวมทั้งต้มจืด ต้มยำ และแกงกะทิ
อาการธรรมดาย่อยง่าย(Light Diet) หรืออาหารสำหรับผู้ป่วยพักฟื้น(Convalescent Diet)
เป็นอาหารสำหรับให้รับประทานช่วงเวลาหนึ่งแล้วค่อยเปลี่ยนเป็นอาหารชนิดอื่นต่อไป
ข้าว อ่อน นุ่ม หรือแฉะไม่แข็งกระด้าง เนื้อสัตว์ เปื่อย นุ่ม ไม่ติดพังพืด
อาหารอ่อน(Soft Diet)
เป็นอาหารสำหรับผู้ป่วยที่อวัยวะการย่อยผิดปิกติ
ข้าว ต้มเปื่อย และบด เส้นก๋วยตี๋ยวชนิดต่างๆ มันไม่มีเปลือก ไม่มีใย
อาหารเหลว(Liquid Diet)
เป็นอาหารย่อยง่ายมีกากน้อย สำหรับให้ผู้ป่วยหนัก มีไข้สูง หรือหลังจากผ่าตัด 24 ชั่วโมง
อาหารเหลวใส
น้ำขาวใส น้ำผลไม้คั้น
อาหารเหลวข้น
น้ำข้าวข้น เครื่องดื่มผสมนมไข่
อาหารเฉพาะโรค/อาหารบำบัดโรค
อาหารที่ผ่านการดัดแปลงเพื่อรักษาโรค
หลักเกณฑ์ในการพิจารณาดัดแปลงอาหาร
ประหยัด มีราคาถูก
มีการจัดเตรียมง่ายไม่ยุ่งยาก
เป็นไปตามบริโภคนิสัยและเป็นที่ยอมรับของผู้ป่วย
ให้อาหารที่ดัดแปลงนั้นมีลักษณะแตกต่างจากอาหารเดิมน้อยที่สุด
เป็นอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการเพียงพอกับควมต้องการของร่างกายในขณะนั้น
การดัดแปลงอาหารเพื่อรักษาโรค
ดัดแปลงแร่ธาตุในอาหาร
เพิ่มหรือลดแร่ธาตุในอาหารนั้นๆตามความเหมาะสม
ดัดแปลงปริมาณสารอาหารอย่างใดอย่างหนึ่ง
ให้ปริมาณของสารอาหารนั้นมากขึ้นหรือน้อยลง เมื่อเทียบกับมาตรฐานที่กำหนด
ดัดแปลงรูปลักษณะของอาหาร หรือใยอาหาร
ทำให้อาหารนั้นอ่อนนุ่มลงด้วยการบดเคี้ยว เพื่อให้มีใยอาหารน้อยลง หรือให้มีเสันใยอาหารมากขึ้น
ดัดแปลงพลังงานของอาหาร
ทำให้อาหารมีพลังงานเปลี่ยนแปลงไปจากมาตรฐานที่กำหนดไว้
สิ่งที่ต้องรู้ในการดัดแปลงอาหารบำบัดโรค
การคำนวณอาหาร
ตารางคุณค่าอาหารและรายการอาหารแลกเแลี่ยน
การซักประวัติและบริโภคนิสัยของผู้ป่วย
การประกอบอาหาร
ลักษณะของอาหาร
ความละเอียด รอบคอบ
การติดตามการบริโภคอาหาร
ชนิดของอาหารบำบัดโรค
อาหารจำกัดโซเดียม
อาหารดัดแปลงกากและใยอาหาร
อาหารโรคเบาหวาน
อาหารเปลี่ยนแปลงไขมัน
อาหารเปลี่ยนแปลงโปรตีน
อาหารเปลี่ยนแปลงแคลเซียม
อาหารเปลี่ยนแปลงพลังงาน
อาหารสำหรับเด็กที่เป็นโรคต่างๆ
อาหารสำหรับผู้ป่วยที่ต้องได้รับการผ่าตัด
โภชนาการ(Nutrition)
พลังงาน(Energy)
การประกอบกิจกรรมต่างๆ
การทำงานของอวัยวะขณะพักผ่อน
เพื่อการเปลี่ยนแปลงภายในร่างกาย
ขับของเสียออกจากร่างกาย
1.พลังงานที่ต้องการขั้นพื้นฐาน
ไม่อยู่ภายใต้การบังคับของจิตใจ
พลังงานที่ต้องการใช้ในขณะร่างกายพักผ่อนทั้งร่างกายและสมองหลังจากกินอาหารมาแล้ว 10-12 ชั่วโมง
คิดเป็น 50% ของการใช้พลังงานต่อวัน
2.พลังงานที่ใช้ในการทำงานและประกอบกิจกรรมต่างๆ
พลังงานที่ใช้ในขณะที่ร่างกายทำกิจกรรมต่างๆที่อยู่ใต้การบังคับของจิตใจ
3.พลังงานที่ใช้ในการเปลี่ยนแปลงอาหารภายในร่างกาย
พลังงานที่ต้องการใช้ในการย่อย ดูดซึมอาหาร
คิดเป็น 10% ของพลังงานที่ต้องการทั้งหมด
4.พลังงานที่ใช้ในการขับขงเสียออกจากร่างกาย
คิดเป็น 80% ของพลังงานที่ต้องการทั้งหมด
หลักในการบริโภคอาหารทางโภชนาการ
โภชนบัญญัติ 9 ประการ
กินพืชผักให้มากและกินผลไม้เป็นประจำ
กินอาหารครบ 5 หมู่
กินข้าวเป็นอาหารหลัก
กินปลา เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
กินอาหารที่มีไขมันแต่พอควร
หลีกเลี่ยงการกินอาหารรสหวานจัด เค็มจัด
กินอาหารที่สะอาด
งดหรือลดดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
อาหารแลกเปลี่ยน
กินทดแทนได้
เพื่อประโยชน์ในการเลือกบริโภคอาหารให้เหมาะสม
ป้องกันหรือรักษาโรคบางชนิด
ในหมวดเดียวกันจะแลกเปลี่ยนอะไรได้หมด แต่ปริมาณจะไม่เท่ากันเพื่อให้ได้พลังงานและสารอาหารลักเท่าๆกัน
สมดุลของพลังงาน
พลังงานที่ได้รับจากอาหาร 100%
ไขมัน 30%
คาร์โบไฮเดรต 50%
โปรตีน 20%
ได้รับ > พลังงานที่ต้องการ
สมดุลพลังงานในทางบวก
ได้รับ < พลังงานที่ต้องการ
สมดุลพลังงานในทางลบ