Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มี ความผิดปกติเกี่ยวกับสมองใหญ่, นางสาวกนิษฐา…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มี
ความผิดปกติเกี่ยวกับสมองใหญ่
ปวดศีรษะ (Headache)
Tension Headache : รู้สึกเหมือนมีเชือกมารัด มีอาการปวดนานกว่า 15 วัน ใน 1 เดิือน
Cluster Headache : พบในหญิง>ชาย จะปวดรอบกระบอกตา เป็นๆหายๆติดต่อกันนาน อาจมี Honner's syndrome คือ รูม่านตาเล็ก เยื่อตาขาวสีแดง น้ำมูก น้ำตาไหล
Migraine Headache : ปวดศีรษะข้างเดียว เป็นด้านตรงข้ามกับข้างที่มีพยาธิสภาพ ปวดตุ๊บๆและเหนเส้นเลือดเต้น กลัวแสง เสียง
Sinus : อาการปวดมักจะอยู่ด้านหลังหน้าผากและ/หรือโหนกแก้ม
โรคลมชัก
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
การได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะอย่างรุนแรง
มีการทิ่มแทงเข้าไปในเนื้อสมอง (40%)
ความพิการของสมองตั้งแต่เกิด การบาดเจ็บของสมองระหว่างคลอด
ชนิดของการชัก
การชักเฉพาะที่
การชักเฉพาะที่และไม่หมดสติ : กระตุกที่ใดที่หนึ่ง ชา เห็นแสงวูบวาบ แน่นท้อง ใจสั่น เหงื่อออก
การชักเฉพาะที่แบบซับซ้อน : เม้มปาก เคี้ยว อาการชักเริ่มจุดใดจุดหนึ่งและลามไปทั้งตัว
การชักทั้งตัว
Absence seizure : เกิดในวัยเด็กและวัยรุ่นตอนต้น มีอาการหมดสติไปชั่วครู่ จ้อง เหม่อ นิ่ง
Myoclonic seziure : การกระตุกของกล้ามเนื้อ ไม่สามารถควบคุมได้
Clonic seizure : การชักที่มีการหดและคลายตัวของกล้ามเนื้อเป็นจังหวะ
Tonic seizure : การชักแบบเกร็งทั้งตัว
การรักษา
ให้ยากันชักตามแผนการรักษา
การผ่าตัด (25%)
การป้องกันอันตรายระหว่างชัก
ทำทางเดินหายใจให้โล่ง
ป้องกันอันตรายจากการบาดเจ็บ
สังเกตลักษณะการชัก
Subarachoid hemorrhage (SAH)
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
ผนังหลอดเลือดชั้นกลางอ่อนแอ
ความันโลหิตสูง
เป็นตั้งแต่กำเนิด
หลอดเลือดแดงแข็ง และมีไขมันเกาะ
พบในเพศหญิง > เพศชาย
สูงอายุ
ความเครียด
Type of Cerebral Aneurysms
Aneurysms rupture => Vasospasm => สมองขาดเลือดไปเลี้ยง => พิการ/เสีียชีวิต
อาการแสดงนำ
สับสน
เวียนศีรษะ
ปวดศีรษะ
อาการที่บ่งบอกว่าเกิด
Aneurysms rupture
ง่วงซึม สับสน บางรายอาจหมดสติทันที
อาการของเยื่อหุ้มสมองถูกรบกวน ได้แก่ คอแข็ง กลัวแสง ปวดหลัง
ปวดศีรษะรุนแรง
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
การตรวจพิเศษ
TC Scan
Lumbar puncture
กรรซักประวัติ
การรักษา
ติดตามค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนในร่างกาย
ลดภาวะหลอดเลือดหดตัว โดยใช้หลัก "Triple-H"
ประเมินอาการทางระบบประสาท
ความควบระดับความดันโลหิตให้คงที่
จำกัดกิตกรรม
การผ่าตัด
ติดตามคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
Arteriovenous Malformation (AVM)
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
เกิดขึ้นตั้งแต่กำเนิด
ขาดหลอดเลือดฝอยเชื่อมระหว่าง
Artery กับ Vein จึงเกิดทางลัด
ตรงกลางเป็นแดงใหญ่ เรียกว่า "nidus"
อาการแสดง
ปวดศีษะ
ชัก
มีเลือดออกในสมองน้อย
SAH
**ผู้ป่วยที่เคยมี AVM แตกแล้ว
มีโอกาสแตกซ้ำถึง 25%
การรักษา
การรักษาคล้ายผู้ป่วย Cerebral Anuerysms
การผ่าตัด
ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
โครงสร้าง
Brain
เนื้อสมอง 78%
CSF 10%
เลือด 12%
สาเหตุ
Increases in blood
Increases in CSF
Increases in brain volume
พยาธิสรีรวิทยา
If volume of one of constituents of intracranial cavity increases, reciprocal decrease in one or both of others
Pressure rises when volume added exceeds compensatory capacity
Skull non-distensible cavity
ปัจจัยส่งเสริมให้เกิด IICP
Mechanisms that increase intrathoracic or intraaddominal pressure -> valsalva's maneuver -> IICP
Body temperature -> Cerebral metabolic rate -> IICP
cerebral autoregulation สูญเสียไป
ภาวะคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดสูง (>45)
ภาวะออกซิเจนในเลือดต่ำ (<60)
ภาวะการบาดเจ็บต่อเนื้อเยื่อสมอง
อาการ
ความสามารถในการเคลื่อนไหวลดลง มี decorticate, decerebrate และกล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการอื่นๆ เช่น ปวดศีรษะมาก อาจียนพุ่ง รูม่านตาบวม
Cushing's triad ; hypertension, bradycardia, irregular, respiration
อาการระยะ ; coma หยุดหัวใจ อุณหภูมิร่างกายจะเพิ่มขึ้น รูม่านตาขยายหรือไม่มีปฏิกิริยาต่อแสง
ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง (ซึมลงหรือสับสน)
Interventions
การรักษาด้วยยา
การดูแลเรื่องการหายใจ โดยใส่ท่อช่วยหายใจ
การรักษาด้วยการผ่าตัด
temperature control ; ยาลดไข้ และใช้ผ้าห่มเย็น ติดจามอุณหภูมิร่างกาย สังเกตอาการสั่น
ติดตามค่า ICP, CPP, V/S & arterial pressure
restrict fluids
Nursing diagnosis
ความสามารถในการทำทางเดินหายใจโล่ง ไม่มีประสิทธิภาพ
แบบแผนการขับถ่ายเปลี่ยนแปลง
แบบแนการหายใจไม่ีปีะสิทธิภาพ
ไม่สุขสบายจากอุณหภูมิร่างกาย
แรงดันกำซาบเนื้อเยื่อสมองเปลี่ยนไป
เสี่ยงต่อภาวะไม่สมดุลของสารน้ำ อิเลคโตรไลท์ และสารอาหาร
Nursing interventions
ดูแลให้ได้รับยา antihypertensives, osmotic diuretic
IV fluid ประเมิน I/O ความตึงตัวของผิวหนัง และเยื่อบุต่างๆ
ดูแลอุณหภูมิในรายที่มีการติดเชื้อ อาจต้องให้ ABO
ประเมิน bowel sounds และอาการอืดแน่นท้องของผู้ปาวย อาจต้้องได้รับยาระบายเพื่อลดการเบ่งถ่านอุจจาระ
พลิกตัวจัดท่านอนทุก 2 ชั่วโมง ช่วยเคาะปอด ป้องกันการตกค้างของเสมหะ
ประเมินการขับถ่ายปัสสาวะและอุจจาระ หากคาสายสวนปัสสาวะต้องป้องกันการติดเชื้อ
เลี่ยงการกระตุ้นให้ผู้ป่วยมีการเกร็ง และเลี่ยงการผูกมัด
ลดความไม่สุขสบายต่างๆ ดูแลความสะอาดของร่างกายและช่องปาก ฟัน
เลี่ยงสิ่งที่จะทำให้เพิ่มความดันในช่องอก : การไอ การเบ่ง
ลดกิจกรรมการพยาบาลที่รบการผู้ป่วยโดยไม่จำเป็น บางรายอาจต้องให้ยาก่อมประสาท
ดูแลเรื่องการใส่ท่อช่วยหายใจและใชเครื่องช่วยหายใจ ติดตามการหายใจและ ABG
ดูแลป้องกันอันตรายจากการชัก ป้องกันการกัดลิ้น เปิดทางเดินหายใจให้โล่ง
ดูแลการได้รับออกซิเจน ดูดเสมหะตามคววามจำเป็นและมีประสิทธิภาพ
ผ่าตัด ventriculostomy ดูแลให้มีการระบายให้เหมาะสม
V/S, N/S, LOC, GCS ทุก15-30นาที หรือ1ชั่วโมงตามสภาพผู้ป่วย
ผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะ (craniotomy)
นอนศีรษะสูงประมาณ 30 องศา ไม่ก้มหรือเงยมากเกินไป เพื่อให้การระบายของเลือดกลับเข้าสู่หัวใจได้ดีขึ้น
นางสาวกนิษฐา ปักการะนัง
รหัสนักศึกษา 612501004