Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบาดเจ็บไขสันหลัง (SPINAL CORD INJURIES) - Coggle Diagram
การบาดเจ็บไขสันหลัง
(SPINAL CORD INJURIES)
กลไกการบาดเจ็บไขสันหลัง
การบาดเจ็บท่าแหงนคอมากกว่าปกติ(Hyperextension injury)
การบาดเจ็บท่างอ และหมุน (Flexion with rotation injury)
การบาดเจ็บแบบงอ (Flexion injury)
การบาดเจ็บแบบยุบจากแรงอัด (Compression injury)
การบาดเจ็บแบบ Penetrating injury
การบาดเจ็บที่มีลักษณะเฉพาะ
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
ความผิดปกติที่ไม่ได้เกิดจากการบาดเจ็บ (Non-traumatic
disorders)
การเสื่อมของกระดูกสันหลัง
โรคของหลอดเลือด เช่น ขาดเลือดหรือเลือดออก
การอับเสบของเยื้อหุ้มไขสันหลัง
เนื้องอก
โรคกระดูกพรุน (Osteoporosis)
การบาดเจ็บ (Trauma)
การเล่นกีฬา
อุบัติเหตุรถยนต์ จักรยานยนต์
ตกจากที่สูง
โดนยิง หรือถูกแทง
ประเภทของการบาดเจ็บไขสันหลัง
บาดเจ็บไขสันหลังชนิดสมบูรณ์(Complete cord injury)
สูญเสียการทำงานของกล้ามเนื้อและความรู้สึกในส่วนที่ต่ำกว่าพยาธิสภาพ
ควบคุมกล้ามเนื้อหูรูดรอบทวารหนักไม่ได้
เป็นการบาดเจ็บที่ทำให้ไขสันหลังสูญเสียหน้าที่ทั้งหมด
เกิดอัมพาตอย่างถาวร ซึ่งมี 2 ลักษณะ คือ tetraplegia
และ paraplegia
บาดเจ็บไขสันหลังชนิดไม่สมบูรณ์(Incomplete spinal cord
injury)
ร่างกาย ส่วนที่อยู่ต่ำกว่าระดับพยาธิสภาพ มีบางส่วนของ
ระบบประสาทที่ยังทำหน้าที่อยู่
สามารถขมิบรอบๆ ทวารหนักได้
ระดับความรุนแรงของการบาดเจ็บไขสันหลัง
ระดับ C (incomplete) หมายถึง ความแข็งแรงของกล้ามเนื้ออยู่ต่ำกว่า
ระดับ 3
ระดับ D (incomplete) หมายถึง ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อตั้งแต่
ระดับ 3 ขึ้นไป
ระดับ B (incomplete) หมายถึง มีความรู้สึกในระดับ S4-5 แต่
เคลื่อนไหวไม่ได้เลย
ระดับ E (normal) หมายถึง การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อและ
การรับความรู้สึกปกต
ระดับ A (complete) หมายถึง อัมพาตอย่างสมบูรณ์ไม่มีการเคลื่อนไหว
และไม่มีความรู้สึก
การประเมินการบาดเจ็บไขสันหลัง
การซักประวัติ
ตกจากที่สูงมากกว่า 3 เท่าของความสูงของผู้ป่วยหรือ
สูงมากกว่า 6 เมตร
ตกจากที่สูงในแนวดิ่ง
มีบาดเจ็บเหนือกระดูกไหปลาร้าหรือมีบาดเจ็บที่ใบหน้า
อย่างรุนแรง
กระเด็นออกนอกยานพาหนะ
ความดันโลหิตต่่ำร่วมกับชีพจรช้า
ได้รับบาดเจ็บรุนแรงที่ทรวงอกและภายในช่องท้อง
ปวดหลังหรือปวดตามแนวกึ่งกลางหลัง จะปวดมากขึ้น
ถ้าร่างกายมีการเคลื่อนไหว
ให้ประวัติควบคุมปัสสาวะไม่ได้หลังบาดเจ็บ
ปวดตึงต้นคอ หรือความรู้สึกที่แขน ขาลดลง
ได้รับบาดเจ็บจากการแขวนคอ (hanging)
การตรวจร่างกาย ใช้หลัก ABCDE
การประเมินภาวะบวม หรือการมีเลือดออก
การประเมิน Glasgow’s Coma Score
การประเมินการหายใจ
การประเมินระบบประสาท
การตรวจทางรังสีวิทยา
Computed tomography scan (CT)
Magnetic resonance imagine (MRI)
Plain film เป็นการตรวจคัดกรองที่ส าคัญ
การดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลัง
ระยะเฉียบพลัน
การดูแลระบบทางเดินหายใจ
การดูแลระบบทางเดินอาหาร และการขับถ่ายอุจาระ
การให้ยา
การดูแลระบบทางเดินปัสสาวะ
Circulation (keep MAP ≥ 85 mmHg)
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับความอบอุ่นเพียงพอ
Breathing
จัดหาเตียงที่เหมาะสม
SPINAL SHOCK
อาการสำคัญ
ไม่มีรีเฟล็กซ์ (areflexia)
ผิวหนังเย็นและแห้ง
ความดันโลหิตต่ำ (hypotension)
อวัยวะเพศชายขยายตัว (priaprism)
คัดจมูกเนื่องจากหลอดเลือดในโพรงจมูกขยายตัว(Guttmann’s sign)
อวัยวะที่อยู่ต่ำกว่าระดับไขสันหลังได้รับบาดเจ็บจะเป็นอัมพาตแบบอ่อนปวกเปียก (flaccid paralysis) รวมถึงอวัยวะภายในช่องท้อง
เป็นอัมพาตด้วย
NEUROGENIC SHOCK
อาการสำคัญ
bradycardia
hypothermia
อาการสำคัญ
การพยาบาล
ติดตามค่า hemoglobin และ hematocrit
บันทึกจำนวนปัสสาวะ
ระวังอย่าให้สารน้ำมากเพราะจะทำให้ไขสันหลังบวม (cord
edema) และปอดบวมน้ำจากภาวะน้ำเกิน (pulmonary edema)
บันทึกสัญญาณชีพ monitor EKG ในรายที่ค่าความดันโลหิตต่ำ
อาจให้ยาช่วยเพิ่มความดันโลหิต
ให้สารน้ำอย่างเพียงพอ เพื่อให้ systolic blood pressure
มากกว่า 90 mmHg