Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ, นางสาวกนกภรณ์ สุวรรณมาลี 36/1…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ
อัตราการหายใจในเด็กแต่ละวัย
2-12 เดือน ไม่เกิน 50 ครั้ง/นาที
1-5 ปี ไม่เกิน 40 ครั้ง/นาที
< 2 เดือน ไม่เกิน 60 ครั้ง/นาที
O2 saturation > 95%
การหายใจปีกจมูกบาน (nasal flaring)
เป็นลักษณะของการหายใจลำบาก
เมื่อหายใจเข้ามีการบานของปีกจมูกทั้งสองข้างเพื่อช่วยให้หายใจเอาอากาศเข้าให้พอ
ขณะหายใจเข้ามีการยุบลง (retraction)
เมื่อหายใจเข้ามีการยุบลงของกระดูกหน้าอก ช่องระหว่างซี่โครง และซี่โครง
เสียงหายใจผิดปกติ
เกิดจากเสียงลมที่ผ่านเข้าไปในทางเดินหายใจมีความผิดปกติ
Stridor sound
มีการตีบแคบของหลอดลมบริเวณกล่องเสียง
มีลักษณะคล้ายเสียงคราง สูง
พบบ่อยในเด็กที่เป็น croup
acute laryngitis
laryngotracheitis
laryngotracchebronchitis
Crepitation sound
เป็นเสียงแตกกระจายเป็นช่วงๆ
เกิดจากลมที่ผ่านท่อทางเดินหายใจที่มีน้ำเหลือเสมหะ
พบในภาวะ pneumania
Rhonchi sound
เกิดจากการไหลวนของอากาศผ่านเข้าไปในทางเดินหายใจที่ตีบแคบ
เกิดจากเสมหะอุดตันหรือเยื่อบุทางเดินหายใจบวม หลอดลมบีบเกร็งจากภาวะภูมแพ้
Wheezing
เสียงหวีดความถี่สูง ได้ยินชััดช่วงหายใจออก
เกิดจากหลอดลมเล็กๆหรือหลอดลมฝอยบีบเกร็ง
พบในผู้ป่วยโรคหอบหืด ภาวะหลอดลมมีความใจในการตีบตัวมากกว่าปกติ
แสดงว่าผู้ป่วยได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
เสมหะ
กลไกการสร้างเสมหะ
กลไกทางธรรมชาติในการขจัดสิ่งแปลกปลอม
การสร้างมูก (mucous)
การพัดโบกของ cilia
กลไกการไอ cough reflex
การติดเชื้อ
เมื่อมีการติดเชื้อ mucus gland จะหลั่ง mucous เพิ่มมากขึ้น ทำให้มีเสมหะมาก
มีการทำลายเซลล์เยื่อบุหลอดลมและทำลาย cilia ทำให้ cilia ลดลง และทำให้เสมหะไม่ถูกพัดออกจากทางเดินหายใจ เกิดการคั่งค้าง
อากาศเย็นการพัดโบกของ cilia จะไม่มีประสิทธภาพ
การไออย่างมีประสิทธิภาพจะช่วยไม่ให้มีเสมหะค้างในหลอดลม
ต้องดูแลให้ผู้ป่วยได้รับน้ำอย่างเพียงพอ เพื่อทางเดินหายใจชุ่มชื่น เสมหะเหนียวลดลง cilia พัดโบกได้ดี ขับเสมหะออกได้ง่ายขึ้น
ลักษณะ
เสมหะเหนียว
มูกคล้ายแป้งเปียก ติดกันเป็นก้อน หนืดมาก ขับออกมายาก ต้องประเมินว่าผู้ป่วยได้รับน้ำเพียงพอหรือไม่
เสมหะไม่เหนียว
เมือกเหลว หนืดน้อย ขับออกมาได้ง่าย
Croup
กลุ่มอาการอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนบนและบริเวณใต้กล่องเสียง
สาเหตุเกิดจากการอักเสบ
ฝาปิดกล่องเสียง acute epiglottitis
กล่องเสียง acute laryngitis
กล่องเสียง หลอดลมใหญ่และหลอดลมฝอยในปอด laryngotracheobronchitis
การติดเชื้อ
ไวัรส
แบคทีเรีย
็H.influenzae, S.pneumonia gr.A Streptococus
อาการ
inspiratory stridor หสยใจเข้ามีเสียงฮืด
ไอเสียงก้อง barking cough
ไข้ เจ็บคอ หายใจลำบาก
อาการน้ำลายไหล
ไม่ตอบสนองต่อการพ่อนยาทั่วไป
ส่วนใหญ่จะพ่น adrenaline ต้องใส่ endotracheal tube
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากมีการอุดกลั้นทางเดินหายใจ
Tonsilitis/Pharyngitis
สาเหตุ
การติดเชื้อ แบคทีเรีย ไวรัส
Beta Hemolytic Streptococcus gr.A
อาการ
ไข้ ปวดศรีษะ ไอ เจ็บคอ
ในรายที่มีตุ่มใสหรือแผลตื้นที่คอหอย หรือเพดานปาก สาเหตุจะเกิดจาก Coxsackie virus เรียกว่า Herpangina คำแนะนำที่สำคัญคือ ให้กินยา Antibiotic ให้ครบ 10 วัน เพื่อป้องกัน ไข้รูห์มาติด และหัวใจรูห์มาติดหรือกรวยไตอักเสบเฉียบพลัน AGN
Tonsillectomy
จะผ่าตัดเมื่อมีข้อบ่งชี้ในเรื่องการติดเชื้อเรื้อรังหรือเป็นๆหายๆ
ไข้ เจ็บคอ กลืนลำบาก เป็นเรื้อรังรบกวนคุณภาพชีวิต
มีการอุดกั้นทางเดินกายใจส่วนบน การนอนกรน หรือภาวะหยุดหายใจขณะหลับ
สงสัยว่าเป็นมะเร็งต่อมทอลซิล
การดูแลหลังผ่าตัด
ให้เด็กนอนตะแครงไปด้านใดด้านหนึ่งเพื่อระบายเสมหะ
สังเกตอาการและการเปลี่ยนแปลงอย่างใกล้ชิด
เมื่อหายดี ให้อมน้ำแข็งก้อนเล็กๆ
หลังผ่าตัด
สามารถกลับบ้านได้ภายใน 24-48 ชม. หากได้รับอาหารอย่างเพียงพอ ไม่มีภาวะแทรกซ้อน อาจทำให้น้ำหลักลดจากการกลืนลำบาก
อาจมีไข้ บวม เสียงเปลี่ยน มักหายไปใน 1 สัปดาห์
หลังผ่าตัด 1-2 วันแรก ผนังในคออาจจะบวมมาก ทำให้หายใจไม่สะดวก ควรนอนศรีษะสูง อมน้ำแข็ง
หลีกเลียงการออกแรงมากหลังผ่าตัด 48 ชม.แรก
ควรอมน้ำแข็งหรือประคบ ควรทำ 10 นาทีแล้วเอาออก แล้วทำใหม่ สลับเรื่อยๆ
รับประทานอาหารอ่อน แผลจะหาย 2-4 สัปดาห์
Sinusitis
สาเหตุ
เกิดการติดเชื้อไวรัส แบคทีเรีย เชื้อรา
การติดเชื้อ
การติดเชื้อ ทำให้เกิดการบวมของเยื่อบุในโพรงอากาศและส่งผลทำให้เกิดภาวะอุดตันช่ิงรับายของโพรงอากาศข้างจมูก ทำให้เกิดการคั่งของสารคัดหลั่ง
ทำให้ความดันโพรงอากาศเป็นลบ เมื่อจาม สูดหรือสั่งน้ำมูกจะทำให้เชื้อแบคทีเรียที่บริเวณ nasopharynx เข้าไปในโพรงอากาศข้างจมูกได้ง่าย
ทำให้การทำงานของ cilia ผิดปกติ มีสารคัดหลั่งออกมามาก
ระยะของโรค
Chronic sinusitis อาการต่อเนื่องเกิน 12 สัปดาห์
มีไข้สูงกว่า 39 ปวดศรีษะ ปวดเมื่อยตามตัว มีน้ำมูก ไอ ในรายที่ติดเชื้อแบคทีเรีย จะนานมากกว่า 10 วันมีอาการรุนแรง หายใจมีกลิ่น ปวดบริเวณหน้าผากและหัวคิ้ว
Acute sinusitis ระยะของโรคไม่เกิน 12 สัปดาห์
การวินิจฉัย
X-ray paranasal sinus ทำในเด็กที่อายุเกิน 6 ปี
CT scan
ตรวจโดยการส่องไฟผ่าน Transilumination จะพบว่าไซนัสที่มีการอักเสบจะมัว
การล้างจมูก
การทำความสะอาดโพรงจมูก ลดจำนวนเชื้อโรค
ล้างจมูกก่อนให้ยาพ่น ทำให้ยามีประสิทธิภาพมากขึ้น
ล้างด้วย 0.9% NSS
การดูแลรักษา
ให้ยา antibiotic
ให้ยาแก้ปวด ลดไข้
ให้ยาแก้แพ้ ใช้เฉพาะรายที่เรื่อรังจากภูมิแพ้ ไม่ใช้ในผู้ป่วยเฉียบพลันจะทำให้ไซนัสแห้ง
ให้ยา Steroid เพื่อลดอาการบวม
Asthma
ภาวะที่มีการอักเสบเรื้อรังของหลอดลม ทำให้เยื่อบุผนังหลอดลมมีปฏิกิริยาติบสนองต่อสารก่อภูมิแพ้มากกว่าปกติ
ทำให้หลอดลมหดเกร็ง
หลอดลมตีบแคบลง เยื่อบุภายในหลอดลมบวมขึ้น
สร้างเมือกเหนียงจำนวนมาก ทำให้ช่องทางเดินอากาศแคบลง
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาขยายหลอดลม ยาลดอาการบวม
ในเด็กเล็กอายุ 1-2 ปี มักเกิดจากการติดเชื้อไวัรส เด็กในวัยเรียนมักเกิดจากภูมิแพ้
อาการ
อาการคล้ายหวัด ถ้าไอมากขึ้นจะมีเสียงหวีด ถ้าร่างกายขาดออกซเจนมาก จะปากเขียว ใจสั่น
การเกร็งของหลอดลมจะเกิดขึ้นไม่มากนัก ผู้ป่วยจะมีอาการไม่มาก แต่เป็นเรื่อยๆ
เด็กบางคนไออย่างเดียว มักมีอาเจียนร่วมด้วย การไอจะดีขึ้นหลังอาเจียนเสมหะเหนียวๆออกมา
ความรุนแรง
เล็กน้อย
ไอ มีเสียงหวีด ทำทุกอย่างตามปกติ
ปานกลาง
ตื่นกลางคืนบ่อยๆ มักไอมีเสียงหวีด
รุนแรง
กระสับกระสายนอนไม่ได้ เหนื่อยหอบ ริมฝีปากเขียว
การรักษา
หลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้น
บุหรี่,ไรฝุ่น,ขนสัตว์,การออกกำลังกาย,อากาศเย็น
ยา
ยาขยายหลอดลม พ่นและรับประทาน
ยาพ่นกลุ่ม corticosteroids ต้องบ้วนปากหลังให้ยาทุกครั้งป้องกันเชื้อรา
ยาลดการบวมการอักเสบของหลอดลม
หลอดลมอักเสบ หลอดลมฝอยอักเสบ
ติดเชื้อทางเดินหายใจช่วงล่าง มีการอักเสบอุดกั้นของหลอดลม เชื้อที่พบบ่อยสุดคืิ RSV
พบสูงในเด็กไม่กินนมแม่
กลไกการติดเชื้อ
เชื้อไวรัสทำลายเนื้อเยื่อของหลอดลมฝอยทำให้ บวม อักเสบ มีการคั่งของเสมหะ เกิด Atelectasis
อาการ
เริ่มจากไข้หวัดเล็กน้อย ต่อมาเริ่มไอเป็นชุด หายใจเร็ว หอบ ปีกจมูกบาน
การรักษา
ตามอาการ ให้ยาลดไข้ ยาปฏิชีวนะ ยาขยายหลอดลม
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ดูแลปัญหาการติดเชื้อ
ปอดบวม
สาเหตุ
สำลักสิ่งแปลกปลอม ติดเชื้อ แบคทีเรีย ไวรัส
อาการ
ไข้ ไอ หอบ ซึม
เกณฑ์ใช้ตัดสิน
1-5 ปีหายใจมากกว่า 40 ครั้ง/นาที
2เดือนถึง1ปี หายใจมากกว่า 50 ครั้ง/นาที
แรกเกิด หายใจถี่ 60 ครั้ง/นาที
การรักษา
ดูแลให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ
ดูแลเรื่องไข้
ดูแลเรื่องการได้รับออกซิเจน
การพยาบาล
ทำ Postural drainage ช่วยให้เสมหะเลื่อนขึ้นมาถึงปลายสาย
จัดให้ผู้ป่วยนอนศรีษะสูง
เคาะปอดในรายที่เสมหะอยู่ลึก ป้องกันปอดแฟบ
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
สอนการไอ กระตุ้นให้ดื่มน้ำ
ดูแลการอุดกั้นทางเดินหายใจ
การระบายเสมหะ
องค์ประกอบ
ท่าผู้ป่วย
จัดให้ส่วนของปอดที่ต้องการระบายอยู่เหนือหลอดลมและปาก
การเคาะ
ใช้อุ้งทือทำมือคุม cupped hand เคาะทรวงอกส่วนที่ได้รับการจัดท่า
ใช้ผ้ารองบนส่วนที่จะเคาะ 1 นาที
เมื่อผู้ป่วยไอควรหยุดเคาะ ให้ใช้การสั่นสะเทือน
เคาะก่อนทานอาหารหรือท้องว่าง หรือหลังรับประทานอาหาร 2 ชั่วโมง
การสั่นสะเทือน
ใช้มือวางราบ เกร็งกล้านเนื้อต้นแขน หัวไหล่จังหวะการหายใจเข้าเต็มที่และกำลังหายใจออก
สอนการไออย่างมีประสิทธิภาพ
หายใจเข้าเต็มที่ช้าๆแล้วกลั้นไว้ และไอออกมาเร็วและแรง
การพ่นยา
ประโยชน์
เสมหะอ่อนตัวลง
เพิ่มประสิทธิภาพการไอ
ให้ความชุ่มชื้นทางเดินหายใจ
ข้อปฏิบัติ
ไม่ควรให้ขณะร้อง
ใช้มือประคองกระเปราะพ่นยาเพื่อให้อุณหภูมิคงที่
เคาะกระเปาะยาเป็นระยะ
เปิดออกซิเจน 6-8 ลิตรต่อนาที
Face mask
เหมาะสำหรับผู้ป่วยต้องการออกซิเจนปานกลาง
Nasal canula
ให้ออกซิเจนความเข้มข้นไม่สูงมาก
Oxygen hood/box
เหมาะกับทารก เปิดออกซิเจนอย่างน้อย 7 ลิตรต่อนาที
ถ้าเป็นเด็กเล็ก สามารถเปิด 3-5ลิตรต่อนาที ไม่ควรลด flow rate เพื่อป้องกันการคั่งของคาร์บอนไดออกไซด์
หลักการให้คำแนะนำ
ถ้าบวมให้ยาลดบวม อักเสบติดเชื้อให้ยา ATB ตีบให้ยาขยาย ขับเสมหะออก
ให้ออกซิเจนตามความเหมาะสมตามแผนการรักษา
ดูแลปัญหาพร่องออกซิเจน แก้ไขทางผ่านออกซิเจน
นางสาวกนกภรณ์ สุวรรณมาลี 36/1 เลขที่4 612001004
อ้างอิง
โรงพยาบาลพญาไท. (2018). โรคติดเชื้อเฉียบพลัน ระบบทางเดินหายใจในเด็ก. ค้นเมื่อ 7มิ.ย.63.
https://www.phyathai.com/article_detail/2764/th/_%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%89%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%9A%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%99_%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%83%E0%B8%88%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%81
โรงพยาบาลยันฮี. (2019). โรคระบบทางเดินหายใจและปอดในเด็ก. ค้นเมื่อ 7มิ.ย.63
https://th.yanhee.net/%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%96%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%83%E0%B8%88%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%9B%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%81/