Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทารกน้ำหนักตัวผิดปกติ ความผิดปกติที่เกี่ยวกับอายุครรภ์ - Coggle Diagram
ทารกน้ำหนักตัวผิดปกติ ความผิดปกติที่เกี่ยวกับอายุครรภ์
ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่าอายุในครรภ์
(SGA) Small for gestational age
ทารกแรกเกิดที่มีนํ้าหนักตํ่ากว่าเปอร์เซนต์ไทล์ที่ 10 เมื่อเทียบกับทารกปกติที่มีอายุในครรภ์เท่ากัน
มีน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า 2,500 กรัม
ทารกแรกเกิดน้ำหนักเหมาะสมกับอายุในครรภ์ (AGA) Appropriate for gestational age
ทารกแรกเกิดที่มีนํ้าหนักอยู่ระหว่างเปอร์เซนต์ไทล์ที่ 10 ถึง 90 เมื่อเทียบกับทารกปกติที่มีอายุในครรภ์เท่ากัน
ทารกแรกเกิดที่มีนํ้าหนักเหมาะสมกับอายุครรภ์
พบได้ร้อยละ 80 ของทารกทั้งหมด
ทารกแรกเกิดนํ้าหนักมากกว่าอายุในครรภ์ (LGA) Large for gestational age
ทารกแรกเกิดที่มีนํ้าหนักมากกว่าเปอร์เซนต์ไทล์ที่ 90 เมื่อเทียบกับทารกปกติที่มีอายุในครรภ์เท่ากัน
ทารกแรกเกิดที่มีนํ้าหนักมากกว่าอายุครรภ์
มีนํ้าหนักแรกเกิดมากกว่า 4,000 กรัม
ทารกแรกเกิดนํ้าหนักน้อย (Low birth weight)
ทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักตัวต่ำกว่า 2,500 กรัม
อาจจะเป็น preterm/term/postterm
ทารกแรกเกิดที่มีนํ้าหนักน้อยมาก (very low birth weight : VLBW)
ทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักตัวต่ำกว่า 1,500 กรัม
ทารกแรกเกิดที่มีนํ้าหนักน้อยมากๆ (extremely low birth weight : ELBW)
ทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักตัวต่ำกว่า 1,000 กรัม
ทารกโตช้าในครรภ์ (intrauterine growth restriction,IUGR)
เป็นสาเหตุการตายปริกำเนิดของทารกสูงเป็นอันดับสอง
รองจากการคลอดก่อนกำหนด
อัตราตายปริกำเนิดของทารกในกลุ่มนี้สูงกว่าทารกปกติ 6-10 เท่า
สาเหตุการตายส่วนใหญ่เกิดจาก intrauterine asphyxia และ/หรือ ความพิการแต่กำเนิดของทารก
เกณฑ์การวินิจฉัยที่ใช้กันมากที่สุด คือ “ทารกที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 10th percentile ของน้ำหนักทารกที่อายุครรภ์นั้น ๆ”
ทารกครรภ์เกินกำหนด (Postterm Infant)
ทารกที่คลอดหลังจากอายุครรภ์ 42 สัปดาห์
ปัจจัยที่อาจส่งผลให้คลอดเกินกำหนด
การตั้งครรภ์ครั้งแรก
การตั้งครรภ์ครั้งที่ 5 เป็นต้นไป
ประวัติระยะเวลาในการคลอดล่าช้า
มารดาอาจจำประจำเดือนครั้งสุดท้ายคลาดเคลื่อน
ประจำเดือนมาไม่สม่ำเสมอ
ภาวะแทรกซ้อนจากการคลอดเกินกำหนด
น้ำคร่ำน้อย
รกเสื่อม
ทารกอาจได้รับสารอาหารและออกซิเจนไม่เพียงพอ
สายสะดือถูกกด
มีการถ่ายขี้เทาลักษณะเหนียวเนื่องจากมีน้ำคร่ำน้อย
การรักษา
ตรวจอัลตราซาวนด์เพื่อประเมินอายุครรภ์และความผิดปกติของทารก
ประเมินทารกด้วย NST, CST และให้คลอดเมื่ออายุครรภ์ 43 สัปดาห์
ดูดมูกก่อนทารกคลอดทั้งตัว และใส่สาย NG เพื่อดูดขี้เทาที่อยู่ในระดับลึกก่อนที่จะหายใจครั้งแรก
ช่วยเหลือการหายใจของทารก ตรวจระดับแก๊สในเลือด ตรวจเอกซเรย์ ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ กลูโคส ฮีมาโตคริต บิลลิรูบิน