Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของหัวใจและโครงสร้างระบบไหลเวียนเลือด - Coggle Diagram
ความผิดปกติของหัวใจและโครงสร้างระบบไหลเวียนเลือด
ระบบไหลเวียนเลือด
หัวใจ
ทำหน้าที่สูบฉีดเลือดไปเลี้ยงร่างกายหัวใจทำงานโดยการบีบตัวเป็นจังหวะระยะบีบตัวเรียกว่าSystoleและระยะคลายตัวเรียก diastole
การไหลของเลือดจะไหลไปในทิศทางเดียวกันไม่ไหลย้อนกลับเนื่องจากมีลิ้นหัวใจกั้นไว้ซึ่งการปิดของลิ้นหัวใจทำให้เกิดเสียงที่สามารถฟังจากหูฟังได้
หลอดเลือด
หลอดเลือดแดง
ลักษณะหนา
ยืดหยุ่นดี
ไม่มีลิ้นทำหน้าที่นำเลือดออกจากหัวใจไปยังเส้นเลือดฝอย
หลอดเลือดำ
ลักษณะบางกว่าหลอดเลือดแดง
มีลิ้นกั้นป้องกันเลือดหลย้อนกลับ
มีหน้าที่นเลือดจากส่วนต่างๆของร่างกายเข้าสู่หัวใจ
หลอดเลือดฝอย
ลักษณะเล็กละเอียดมากผนังบางมาก
มีหน้าที่นำเลือดแดงจากหลอดเลือดแดงไปเลี้ยงร่างกาย
นำเลือดดำจากเซลล์ไปยังหลอดเลือดดำ
เลือด
มีหน้าที่ลำเลียงอาหารไปส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ประกอบด้วยเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาวและเกล็ดเลือด
ความผิดปกติของระบบไหลเวียนเลือด
ภาวะหัวใจวาย (Heart failure)
โรคหลอดเลือดหัวใจ ประกอบด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบโป่งพองภาวะเจ็บหน้าอก (Angina pectoris) กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
โรคจากความผิดปกติของลิ้นหัวใจ Mitral stenosis, Mitralregurgitation, Aortic stenosisและ Aortic regurgitation
การติดเชื้อที่ส่วนต่าง ๆ ของหัวใจ เช่น rheumatic fevermyocarditis, Pericarditis และ Endocarditis
Coronary artery disease
MI
Cardiac arrest
Shock
Cardiac temponade
Heart Failure
สาเหตุ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
หัวใจทำงานหนักเกินไป
กล้ามเนื้อหัวใจมีการทำหน้าที่ผิดซึ่งอาจเป็นผลมาจากระบบไฟฟ้าหัวใจหรือความผิดปกติของกล้ามเนื้อและโครงสร้าง
ความผิดปกติของห้องหัวใจล่างซ้าย
โรคร่วมเรื้อรังอื่น ๆ เช่น MI, HT, DM, COPDฯลฯ
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของลิ้นหัวใจ ติดเชื้อที่ลิ้นหัวใจ หรือลิ้นหัวใจถูกทำลาย
โรคเกี่ยวกับกล้ามเนื้อหัวใจ
หัวใจเต้นผิดปกติ (Arrythmia)
ความผิดปกติของหัวใจ เช่น Cardiomyopath
สารพิษต่าง ๆ เช่น สารเสพติด
โรคเกี่ยวกับปอด
หยุดหายใจขณะหลับ (Sleep apnea)
ภาวะที่หัวใจทำงานได้ไม่มีประสิทธิภาพ
ไม่สามารถบีบลือดไปเลี้ยงทั่ว
ร่างกายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ไม่เพียงพอแก่ความต้องการของ
ร่างกาย ทำมีผลกระทบต่อร่างกายของผู้ป่วย
พยาธิสภาพ
กล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างอ่อนแรงทำให้ไม่สามารถรับเลือดจากร่างกายเข้าสู่หัวใจและบีบเลือดไปเลี้ยงร่างกายได้เพียงพอ
มีความผิดปกติทำให้เกิดการเพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ ทำให้เวลาในการรับเลือดน้อยลง
การเพิ่มของปริมาตรเลือดที่หัวใจบีบออกจากหัวใจแต่ละครั้ง
การหดตัวของหลอดเลือดแดง
การเพิ่มแรงบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
การคั่งของน้ำและเกลือในร่างกาย
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขยายโตขึ้น โดยเฉพาะห้องหัวใจล่างซ้าย (LVH)มักมีกล้ามเนื้อหนา และแข็ง
ชนิดของหัวใจล้มเหลว
ภาวะหัวใจวายเฉียบพลัน
ภาวะหัวใจล้มเหลวที่เกิดจากปริมาตรเลือดที่ออกจากหัวใจลดลงทันทีทันใด
เนื้อเยื่อได้รับเลือดไปเลี้ยงลดลงอย่างรวดเร็ว
เป็นระยะแรกของการเกิด
หัวใจล้มเหลว
เริ่มมีกลไกการปรับตัว จึงยังไม่มีการคั่งของน้ำและโซเดียม
ภาวะหัวใจเวนตริเคิลวายด้านขวา
เวนตริเคิลขวาไม่สามารถส่งเลือด
ไปฟอกที่ปอดได้
ทำให้มีเลือดดำคั่งในระบบไหลเวียน
ภาวะหัวใจเวนตริเคิลวายด้านซ้าย
เกิดน้ำท่วมปอด
ไม่สามารถบีบเลือดออกมาเลี้ยงร่างกายได้เต็มที่จึงทำให้เลือดคั่งที่ปอด
ภาวะหัวใจเวนตริเคิลวายด้านซ้าย มีผลทำให้เวนตริเคิลซ้าย
ภาวะหัวใจวายเรื้อรัง
ภาวะหัวใจล้มเหลวที่เกิดจากการที่ร่างกายปรับตัวต่อปริมาตรเลือดที่ออกจากหัวใจลดลง
ทำให้เกิดอาการแสดงที่เป็นผลมาจากกลไกการปรับตัว
เช่น มีการคั่งของน้ำในร่างกาย
อาการ
ซีด เขียวคล้ำ(Cyanosis) จากการไหลเวียนของเลือดไปเลี้ยงอวัยวะส่วนปลายไม่ดี
บวมจากความดันเลือดส่วนปลายเพิ่มขึ้น
ความทนต่อการทำกิจกรรมลดลง เหนื่อยง่าย
มึนศีรษะ วิงเวียน สับสน
คลื่นไส้ เบื่ออาหาร ท้องบวมน้ำ ตับโต
หายใจเหนื่อยกลางคืนนอนราบไม่ได้
ปัสสาวะน้อยลง
หลอดเลือดที่คอโป่ง
การประเมินผู้ป่วยโรคหัวใจ
การซักประวัติ
ข้อมูลส่วนตัว อายุ เพศ อาชีพ ฯลฯ
อาการสำคัญ
ประวัติเจ็บป่วยปัจจุบัน
ประวัติเจ็บป่วยในอดีต
แบบแผนการดำเนินชีวิต
ประวัติการได้รับยา
ประวัติครอบครัว
ประวัติการทำงาน
อาการและอาการแสดง
หายใจลำบาก
เหนื่อยหอบเมื่อมีกิจกรรมออกแรง
เหนื่อยหอบเมื่อนอนราบ
เหนื่อยหอบตอนกลางคืน สะดุ้งตื่นลุกขึนมาหอบซักพักแล้วจึงนอนต่อได้
การเป็นหืดเนื่องจากโรคหัวใจ
การหายใจเร็วสลับหยุดหายใจเป็นช่วง ๆ
เจ็บหน้าอก
อ่อนล้า (Fatigue)
ใจสั่น (Palpitation)
เป็นลม (Syncope)
บวม (Edema)
ภาวะเขียว (Cyanosis)
อาการอื่นๆเช่น Hypoxia, Neck vein engorgement, cough, มึนงง ปวดศีรษะและ อาจมีการมองเห็นผิดปกติ
การตรวร่างกาย
ดู (Inspection) สังเกตตั้งแต่ศีรษะจรดเท้า
ดูลักษณะการหายใจอาการเหนื่อยหอบ ภาวะเขียว (Cyanosis) อาการบวมและตรวจสัญญาณชีพ
ฟัง (Auscultation) เพื่อตรวจจังหวะ ความแรง และเสียงผิดปกติ
Murmur
Gallop
Friction rub
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจนับเม็ดเลือด (CBC), ESR
การทดสอบการแข็งตัวของเลือด ได้แก่ PT, PTT
BUN, Cr
Serum cholesterol
Cardiac enzyme เช่น Troponin T, Troponin I, CK-MB, CPK
Lipid profile
CRP(hsCRP)
การตรวจพิเศษ
การวัดการไหลเวียน
การวัดจำนวนเลือดที่ออกจากหัวใจ
การวัดความดันเลือดแดง
การวัดความดันเลือดดำส่วนกลาง
การตรวจ Phonocardiography เพื่อบันทึกภาพของเสียงหัวใจและความผิดปกติของหัวใจและหลอดเลือด
Echocardiogram ตรวจหัวใจด้วยคลื่นความถี่สูง
Electrocardiogram (EKG)
การตรวจ Exercise test, tilt table test
หัวใจห้องล่างซ้ายวาย
พยาธิสภาพ
กล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างซ้าย ไม่สามารถบีบเลือดที่มีออกซิเจน น้ำตาลและสารอาหารต่าง ๆ ไปเลี้ยงร่างกายได้
ทำให้มีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย และชีพจรเบาลง
อาการเหนื่อยง่ายจากหัวใจห้องล่างซ้ายวาย
เกิดจากการที่มีแรงต้านทานระหว่างหัวใจห้องบนซ้ายกับปอด
และเนื้อเยื่อบริเวณโดยรอบในปอดทำให้เกิดภาวะน้ำคั่งในปอด
ทำให้หายใจลำบากมีเสียงcrepitationในปอด
สาเหตุ
ภาวะความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ โรคลิ้นหัวใจโดยเฉพาะลิ้นหัวใจหัวใจตีบ โรคลิ้นหัวใจโดยเฉพาะลิ้นหัวใจAortic หรือ Mitral valve
อาการ
มีปัสสาวะออกน้อย เนื่องจากร่างกายมีการเก็บน้ำไว้ในร่างกาย
หัวใจเต้นเร็วหรือไม่สม่ำเสมอ
ใจสั่น หอบเหนื่อย เจ็บหน้าอก หายใจลำบากตอนไอ
หายใจลำบากเมื่อนอนราบ
มักพบหายใจลำบากในตอนกลางคืน
ปัสสาวะออกน้อย ซีดเขียว
คลำชีพจรเบา
มักตรวจพบหัวใจโต (Cardiomegaly) ร่วมด้วย
อาการอื่นๆ ที่อาจมีร่วมด้วยคือ เสียงแหบ และ ไอเป็นเลือด
อาการแทรกซ้อน
น้ำท่วมปอดเฉียบพลันไม่ได้รับการรักษาอาจถึงตายได้
ผู้ป่วยจะมีอาการเหนื่อยหอบรุนแรง ไอมาก
บางครั้งเสมหะเป็นฟองสีชมพู
นอนราบไม่ได้
หายใจมีเสียงวี๊ด ฟังปอดพบ Crepitation ฟัง
หัวใจ พบ S3 Gallop
หัวใจห้องล่างขวาวาย
พยาธิสภาพ
กล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างขวาทำหน้าที่ลดลง
ไม่สามารถบีบเลือดไปที่ปอดได้
ทำให้มีเลือดคั่งอยู่ในระบบไหลเวียน
ส่งผลให้เลือดดำคั่งในอวัยวะต่างๆ ของร่างกายและมีอาการบวมที่แขนขาและท้อง
ผู้ป่วยที่หัวใจห้องล่างขวาวายมักมีหลอดเลือดที่คอโป่ ง (JVD)
จากการที่เลือดที่ไปเลี้ยงสมองและศีรษะไม่สามารถไหลกลับสู่หัวใจห้องบนขวาได้
น้ำหนักขึ้นจากการที่มีนำคั่งในร่างกาย
บัสสาวะบ่อยในตอนกลางคืน
สาเหตุ
กล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างขวาขาดเลือด หลอดเลือดที่ปอดมีความดันสูง หรือหัวใจล่างซ้ายวายมีผลทำให้หัวใจห้องล่างขวาวายตามมา
อาการ
บวมที่ขาทั้ง 2 ข้างกดบุ๋ม มือบวม นิ้วบวม ก้นกบบวม อวัยวะเพศบวม น้าหนักตัวเพิ่ม การบวมทั้งตัวอาจมีได้ในระยะสุดท้ายของหัวใจวาย
ตับ ม้ามโตและปวดแน่นท้องหรือเจ็บแปลบที่ท้องด้านขวาส่วนบน จากการที่มีเลือดคั่งที่ตับ มีอาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน ท้องอืด
ความดันโลหิตสูงเนื่องจากประมาณน้ำในร่างกายมากความดันเลือดดำส่วนกลางสูง
Hepatojugular reflux ได้ผลบวก
หลอดเลือดดำที่คอโป่งพอง
โรคเกี่ยวกับลิ้นหัวใจตีบ/รั่ว
Mitral valve stenosis
สาเหตุ
ไข้รูมาติกเป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุด
การติดเชื้อรูมาติกในวัยเด็ก
พยาธิสภาพ
การอักเสบของลิ้นหัวใจทำให้เกิดความแข็ง หนา หดรัดดึงรั้งของลิ้นหัวใจ
ทำให้รูเปิดแคบลง เลือดไหลไม่สะดวกทำให้เกิดเลือดไหลวน
ความดันในเอเตรียมซ้ายสูงขึ้น
และหลอดเลือดแดงที่ปอดความดันสูงขึ้น
ถ้าเป็นรุนแรงมากขึ้นจะทำให้มี Arial fibrillation เกิดลิ่มเลือด
อาการ
เหนื่อยล้า หายใจลำบากเวลาออกแรง
นอนราบไม่ได้ หอบเหนื่อยกลางคืน
ไอเป็นเลือด ตับโต ขาบวมกดบุ๋ม Atria fibrillation เขียว และmurmur
ประเมินสภาพ
ซักประวัติ อาการ อาการแสดง
ตรวจร่างกาย
ตรวจ EKG, Myocardial nuclear perfusion imaging,
Echocardiogram, เอกซเรย์ปอด และการสวนหัวใจ
การรักษา/พยาบาล
เป้าหมายคือ ลดอาการหอบเหนื่อยจากหัวใจล้มเหลว มีอายุยืนยาวและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
การใช้ยา ได้แก่ยาขับปัสสาวะและควบคุมโซเดียม
การผ่าตัด ขยายลิ้นหัวใจ (valve repair) ถ้าเป็ นมากอาจต้องเปลี่ยนลิ้นหัวใจ
การปรับพฤติกรรม ควบคุมอาหาร จำกัดเกลือ งดบุหรี่ สุรา การทำฟัน
การออกแบบกิจกรรมที่เหมาะสมกับระยะของโรค
Mitral valve regurgitation
เป็นโรคที่เกิดจากความผิดปกติของลิ้นหัวใจ
บางครั้งเรียกว่า mitral valve regurgitation, mitral insufficiency หรือmitral incompetenc
มักเกิดขึ้นเมื่อลิ้นหัวใจไมตรัล (mitral valve) ปิดไม่สนิท
ทำให้มีเลือดไหลย้อนกลับไปที่หัวใจเอตรียมซ้าย
ทำให้เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อและร่างกายไม่เพียงพอ ผู้ป่ วยมักรู้สึกหนื่อยและมีอาการหอบ
สาเหตุ
การติดเชื้อ
การที่มีการเสื่อมของเนื้อเยื่อ
ลิ้นหัวใจฉีกจากโรคบางโรค
การขยายตัวของหัวใจห้องล่าง
พยาธิสภาพ
ลักษณะคล้ายกับลิ้นไมตรัลตีบ
แต่ต่างกันที่จากการที่ปิดไม่สนิท
ทำให้เลือดไหลย้อนจากเวนตริเคิลซ้ายไปเอเตรียมซ้าย
ปริมาณเลือดที่รั่วมากน้อยขึ้นอยู่กับความรุนแรงของการรั่วและแรงต้านทานของหลอดเลือด
อาการ
ในระยะแรกไม่มีอาการ
เมื่ออาการรุนแรงขึ้นจะพบหายใจ
ลำบากขณะมีกิจกรรมเมื่อพักอาการจะหายไป
ใจสั่น นอนราบไม่ได้
บวมกดบุ๋ม หลอดเลือดดำที่คอโป่งพอง อ่อนเพลียมาก
ถ้ามีอาการรั่วเรื้อรังจะเกิดหัวใจห้องขวาวายตามมา
การรักษา/พยาบาล
ขึ้นอยู่กับความรุนแรง
ระยะไม่มีอาการ ถ้าเกิดจากไข้รูมาติก ให้ยาปฏิชีวนะป้องกันการกลับเป็นซ้ำจำกัดกิจกรรม จำกัดเกลือและน้ำ
ระยะที่มีอาการเล็กน้อยถึงปานกลาง ให้ยาขับปัสสาวะ digitalis ยาขยายหลอดเลือด ยากลุ่มไนเตรท, ACEI จ ากัดเกลือ, แก้ไขภาวะหัวใจล้มเหลว
ระยะรุนแรง มักรักษาโดยการผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ เมื่อจำเป็น ลิ้นหัวใจเทียม มี 2แบบ ชนิดเป็นโลหะ และธรรมชาติ (เกิดลิ่มเลือดน้อยกว่า)
Aorta valve stenosis
เป็นภาวะที่ลิ้นเอออร์ต้าตีบแคบเปิดไม่เต็มที่
ก่อให้เกิดการอุดกั้นการไหลของหลอดเลือดออกจากเวนตริเคิลซ้ายเข้าสู่เอออร์ต้าในช่วงที่
หัวใจบีบตัว
การอุดกั้นทำให้เกิดแรงต้านทานการบีบเลือดออก
และความดันเวนตริเคิลซ้ายสูงขึ้นเพราะต้องส่งเลือดผ่านลิ้นหัวใจที่ตีบแคบ
สาเหตุ
ส่วนใหญ่เกิดจากลิ้นหัวใจพิการแต่กำเนิด
และความเสื่อมของลิ้นหัวใจจากหินปูนเกาะลิ้นหัวใจ
เมื่ออายุสูงขึ้น ติดเชื้อลิ้นหัวใจ หรือ
เป็นไข้รูมาติค ทำให้ลิ้นหัวใจหนา หดรัด มีหินปูนเกาะ
พยาธิสภาพ:อาการจะค่อยเป็นค่อยไปใช้เวลาหลายปจนลิ้นหัวใจมีรูตีบเล็กจึงปรากฎอาการ
อาการ
เจ็บหน้าอกแบบ Angina หายใจลำบาก
หมดสติเมื่อออกแรง อ่อนเพลีย ล้า
นอนราบไม่ได้ มีเหนื่อยหอบกลางคืน
เสียงหัวใจผิดปกติแบบ Harsh Crescendo-decrescendo ในช่วงหัวใจบีบตัว
การรักษา/พยาบาล
ระยะแรกรักษาตามอาการ โดยให้ยาและปรับพฤติกรรม
ในระยะรุนแรง การผ่าตัดเป็นการรักษาที่ดีที่สุด
ในกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการเจ็บหน้าอก Anginaและหมดสติ
ต้องได้รับการแก้ไขทันที ถ้าไม่ได้รับการแก้ไขจะมีอัตราการตายสูงขึ้น
Aorta valve regurgitation
สาเหตุ
เกิดจากความผิดปกติของลิ้นหัวใจ
และการติดเชื้อที่ลิ้นหัวใจและหัวใจ
ส่วนใหญ่เกิดจากไข้รูมาติค เชื้อแบคทีเรีย หรือ ซิฟิลิส
พยาธิสภาพ
ลิ้นเอออร์ติกรั่วเฉียบพลัน มักเกิดจากเยื่อบุหัวใจอักเสบติดเชื้อหลอดเลือดเอออร์ต้าฉีกขาด การบาดเจ็บของทรวงอกซึ้งภาวะเหล่านี้ทำให้เวนตริเคิลไม่สามารถปรับตัวรับกับปริมาตรเลือดที่ย้อนกลับได้ ความดันในเวนตริเคิลสูงมาก ทำให้ลิ้นไมตรัลปิดก่อนกำหนด เลือดค้างในเอเตรียม และหลอดเลือดปอด เกิดภาวะปอดบวมน้ำฉลียบพลัน
ในระยะสุดท้ายหัวใจปรับตัวไม่ได้ เลือดย้อนคืนเข้าสู่เวนตริเคิลมากขึ้นและในที่สุดเกิดหัวใจล้มเหลว
ลิ้นเอออร์ติกรั่วอย่างเรื้อรังทำให้มีเลือดแดงในเอออร์ต้าบางส่วนไหลกลับสู่เวนตริเคิลซ้ายในขณะที่หัวใจคลายตัว เนื่องจากความดันในเอออร์ต้าสูงกว่าในเวนตริเคิลเวนตริเคิลซ้ายจึงต้องรับเลือดปกติจากเอเตรียมซ้าย
เวนตริเคิลซ้ายมีการปรับตัว โดยการขยายห้องหัวใจและเยื่อหุ้มหัวใจทำให้ความตึงตัวผนังหัวใจเพิ่มขึ้น เวนตริเคิลซ้ายจึงหนาตัวขึ้น ทำให้ความสามารถในการบีบตัวเอาเลือดออกลดลง มีไฟบรัสในกล้ามเนื้อหัวใจ กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ในที่สุดเกิดภาวะหัวใจล้มเหลว
อาการ
ใจสั่น หายใจลำบาก นอนราบไม่ได้
หายใจเหนื่อยตอนกลางคืนล้า มีอาการเจ็บหน้าอก Angina
หัวใจเต้นเร็ว มีเสียงฟู่ แบบDecrescendo ช่วงหัวใจคลายตัว
การรักษา
ระยะแรกและปานกลางรักษาตามอาการร่วมกับปรับพฤติกรรม
ระยะรุนแรง การรักษาที่ได้ผลที่สุดคือการผ่าตัดใส่ลิ้นหัวใจเทียม (Valvereplacement) (แบบโลหะและธรรมชาติ) การดูแลหลังผ่าตัดและการให้ยาเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยลดอัตราการตายและพิการจากการผ่าตัด
โรคเกี่ยวกับกล้ามเนื้อหัวใจ
และเยื่อหุ้มหัวใจ
Pericarditis
สาเหตุ
ติดเชื้อ ได้แก่ เชื้อไวรัส แบคทีเรีย วันโรค เชื้อรา พยาธิ ไข้รูมาติก การติดเชื้อในร่างกาย หรือจากการไม่ติดเชื้อ ได้แก่ กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ภาวะยูรีเมีย
ปฏิกิริยาออโต้อิมมูนของร่างกาย ได้แก่โรค SLE, ไข้รูมาติค และหลังเกิดกล้ามเนื้อหัวใจตาย 1-4 สัปดาห์ (Dessler’s syndrome)
การใช้ยา Procainamide, Hydralazine หรือ Phenytoin
การได้รับบาดเจ็บ (Trauma)
สารพิษ (Toxic agent) เช่น Lithium, cocaine, alcohol
การได้รับรังสี (radiation)
สารเคมี (chemicals)
พยาธิสภาพ
เกิดการอักเสบที่เยื่อหุ้มหัวใจ ซึ่งอาจเกิดฉียบพลันหรือเรื้อรัง
การอักเสบของเยื่อหุ้มหัวใจทำให้เกิดไฟบรินและน้ำเกินบริเวณเยื่อหุ้มหัวใจ ทำให้เยื่อหุ้มหัวใจแข็งและหนา ขาดความยืดหยุ่น ทำให้หัวใจไม่สามารถยืดขยายตัวไม่เต็มที่
ความจุหัวใจลดลง ความดันรอบหัวใจสูงขึ้น ทำให้เลือดไหลกลับหัวใจลดลง และการสูบฉีดโลหิตลดลง
อาการ
ไข้ หนาวสั่น
เจ็บหน้าอก ร้าวไปแขน ไหล่ และคอ
ฟังหัวใจได้ยินเสียง rub หรือ Grating sound
หัวใจเต้นเร็ว ใจสั่น
หายใจลำบาก อ่อนล้า
การรักษา
การใช้ยา NSAID, cochicin อาจให้ตัวเดียวหรือร่วมกัน สำหรับCoricosteroid ให้เมื่อมีข้อบ่งชี้เท่านั้น
การระบายโดย
การเจาะน้ำออกจากเยื่อหุ้มหัวใจ
การผ่าตัด (Open drainage) ได้แก่ pericardiectomy,pericardiocentesis, pericardial window placement, andpericardiotomy
การดูแลระบบไหลเวียนเลือดเพื่อเพิ่ม Cardiac output โดย
ให้น้ำเกลือเพื่อเพิ่มปริมาตรเลือด
ให้ยากระตุ้นหัวใจ (Positive inotropic agent)
ติดตามวัดประเมินความดันโลหิตดำชีพจร (ดูภาวะ Paradoxicalpulse) Echocardiogra
รักษาที่ต้นเหตุของ Cardiac temponade
การพยาบาล
ประเมินความผิดปกติระบบไหลเวียนโดยประเมินซ้ำเป็นระยะ ๆ
ติดตามการทำงานของหัวใจ
เตรียมและให้การพยาบาลก่อนและหลังการทำหัตถการ
การดูแลระบบไหลเวียนเลือดเพื่อเพิ่ม Cardiac output
ให้น้ำเกลือเพื่อเพิ่มปริมาตรเลือด
ดูแลให้ยากระตุ้นหัวใจตามแผนการรักษา
ติดตามวัดประเมินความดันโลหิตดำชีพจร (ดูภาวะ Paradoxicalpulse) Echocardiogram
ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Myocarditis
อาการ
อาการเหมือนไข้หวัดใหญ่ (Flu-live symptom) มีไข้ หนาวสั่นเหงื่อออกปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ อาเจียนและท้องเสีย และร่วมกับอ่อนเพลียจนหมดเรี่ยวแรง
เจ็บหน้าอก หัวใจเต้นผิดจังหวะ หัวใจเต้นช้า การหายใจลำบาก หมดสติเสียชีวิตเฉียบพลันได้
ในระยะยาว อาจมีภาวะแทรกซ้อนต่อการท างานของกล้ามเนื้อหัวใจจนเป็ นภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรังได้
สาเหตุ
เกิดจากกล้ามเนื้อหัวใจเสียหายจากเชื้อโรคเช่น เชื้อไวรัส ได้แก่Coxackiea, Coxackie b, Influeneae, Admovirws, CMV, EBV
ส่วนเชื้อ Bacteria และเชื้อราก็พบได้ ในแง่ของสาเหตุของโรคอื่นๆ ก็พบได้จากโรคเนื้อเยื้เกี่ยวพัน (Connective tissue disease) เช่น โรคลูปัส และอาจเกิดจากยาบางชนิดก็ได้
การรักษา/พยาบาล
การช่วยเหลือการทำงานของหัวใจ โดยใช้เครื่องช่วยการทำงานของหัวใจ แบบพิเศษ รวมทั้งการให้ออกชิเจนเพื่อพยุงช่วยเหลือปอดและหัวใจ
การให้ยาคุ้มกันหรือยาต้านการอับเสบ
การให้ยารักษาภาวะกล้ามเนื้อหัวใจทำงานลดลง
การรักษาโดยไม่ใช้ยา ได้แก่ การสังเกตการณ์ทำงานของหัวใจและระบบไหลเวียน การควบคุมน้ำ และการให้ออกซิเจนอย่างเพียงพอ
การผ่าตัด เช่น การผ่าตัดใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจ หรือการผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจ
การวินิจฉัยโรค
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ (ECG -electrocardiogram)
เอกซเรย์ปอด
เอนไซม์กล้ามเนื้อหัวใจ
การตรวจหัวใจคลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ
การตรวจหัวใจด้วยเครื่องแม่เหล็กหัวใจ
ตัดตัวอย่างกล้ามเนื้อหัวใจไปตรวจภาวะการอักเสบของหัวใจ
Endocarditis
สาเหตุ
ที่ทำให้เยื่อหุ้มหัวใจชั้นในอักเสบได้แก่ แบคทีเรีย ไวรัส และเชื้อรา
ที่พบส่วนใหญ่เป็นเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งมักเข้าสู่กระแสเลือดได้ จากทางเข้าหรือแผลเปิดส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย
ซึ่งสาเหตุสำคัญคือ ไข้รูมาติคไข้หวัดใหญ่ เยื่อหุ้มหัวใจชั้นในอักเสบ
พยาธิสภาพ
มื่อเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย เข้าสู่ระบบไหลเวียนไปที่หัวใจและฝังตัวอยู่ในเยื่อบุหัวใจชั้น Endothelium ในบริเวณที่มีการไหลเวียนเลือดช้าเกิดการอักเสบที่เยื่อบุหัวใจหรือลิ้นหัวใจ
พยาธิสภาพเกิดที่ลิ้นหัวใจ ท าให้เกิดการอักเสบ ติดเชื้อ ประกอบด้วยกลุ่มของเกล็ดเลือดไฟบริน และเชื้อก่อโรคซึ่งเรียกว่า Vegetation ซึ่งก้อนเลือดเล็กๆ ที่ติดเชื้อเหล่านี้เมื่อหลุดลอยเข้ากระแสเลือดจะมีโอกาสไปอุด
เยื่อบุกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบมีผลให้การหดตัวของกล้ามเนื้อหัวใจไม่มีประสิทธิภาพ ทำให้เลือดออกจากหัวใจลดลง และเกิดลิ่มเลือดไปอุดตันอวัยวะต่าง ๆ เช่น ปอด ไต และสมอง ซึ่งเป็นภาวะแทรกซ้อนสำคัญของโรค
อาการและอาการแสดง
ในรายที่ไม่รุนแรง ไม่มีอาการแสดง อาการทั่วไปจะเริ่มจาก อ่อนเพลีย ไข้ เม็ดเลือดขาวสูง คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว เจ็บหน้าอกหายใจลำบาก ถ้ามีอาการมากขึ้นจะมีภาวะหัวใจวายร่วมด้วย
ในรายที่มีอาการรุนแรงจะตรวจพบความผิดปกติของ T-wave
การรักษา/การพยาบาล
ให้ยาเพิ่มการบีบรัดตัวของหัวใจ เช่น Digitalis
ให้ยาขับปัสสาวะ
ให้ยาต้านการติดเชื้อจนครบเนื่องจากต้องให้ยาเป็นระยะเวลายาวนาน
ติดตามการทำงานของหัวใจ
ดูแลช่วยเหลือกิจกรรมเนื่องจากผู้ป่วยมีภาวะ Activityintolerance
ให้ข้อมูลการปฏิบัติตน การออกกำลังกาย การรับประทานยา การมีเพศสัมพันธ์ ฯลฯ