Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.6 โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์, นางสาวสุกัญญา พลเยี่ยม…
5.6 โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์
ไวรัสตับอักเสบบี
อาการและอาการแสดง
ระยะฟักตัวประมาณ 60-150 วัน
มีไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นใส้ อาเจียน ปวดท้อง ปัสสาวะสีเข้ม อุจจาระสีซีด ปวดข้อ
ผลกระทบ
เบาหวานในระหว่างตั้งครรภ์
การตกเลือดก่อนคลอด
การคลอดก่อนกําหนด
ทารกน้ำหนักตัวน้อย
แนวทางการรักษา
ระยะหลังคลอด
ควรได้รับวัคซีนภายใน 7 วันและให้ซ้ำภายใน 1เดือน และ 6 เดือน
TDF 300 mg. วันละ 1 ครั้ง จนถึง 4 สัปดาห์หลังคลอด
HBIG (400IU)ทันทีหรือภายใน 12 ชม. หลังคลอด
ติดตามตรวจดูระดับ ALT
ทารกแรกเกิดโดยใช้หลัก universal precaution
Exclusive breastfeeding หากไม่มีรอยแผล
ก่อนการคลอด
หลีกเลี่ยงการทำสูติ การเจาะน้ำคร่ำ
หารไวรัสในเลือดสูงกว่า200,000 IU/mL ให้TDF 300 mg. วันละ 1 ครั้ง GA28-32 สัปดาห์
การพยาบาล
ติดตามความก้าวหน้า ไม่กระตุ้นคลอด
ทารก Suction ให้เร็ว หมด ทําความสะอาด
Universal Precaution
ป้องกันการแพร่กระจาย
BF
ส่งตรวจเลือด
คุมกำเนิดตรวจสุขภาพประจำปี
ซักประวัติการได้รับวัคซีน บุคคลในครอบครัว
ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
หัดเยอรมัน
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การสัมผัสโรค ตรวจร่างกายว่ามีผื่นขึ้นหรือไม่
ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
IgM และ IgG specific antibody ทันทีที่มีผื่นขึ้นหรือ
ภายใน 7-10 วันหลังผื่นขึ้น
ควรติดตามการเพิ่มขึ้นของระดับไตเตอร์เป็น 4 เท่าใน 2
สัปดาห์
ELISA
อาการและอาการแสดง
ระยะก่อนออกผื่น
ไข้ต่ำๆ
Koplik's spot จุดสีขาวเหลืองขนาดเล็กคล้ายเม็ดงาอยู่ที่กระพุ้งแก้ม
ระยะออกผื่น
ผื่นแดงเล็กๆ
ตุ่นนูน ผื่นแดงหรือสีชมพูขึ้นที่ใบหน้าก่อนจะลามลงมาตามผิวหนังส่วนอื่นหายไปภายใน 3 วัน
ภาวะแทรกซ้อน
Congenital Rubella Syndrome หูหนวก หัวใจพิการ ต้อกระจก
การรักษา
ในระยะ 3 เดือนแรก
แพทย์จะแนะนำให้ยุติการตั้งครรภ์
รายที่ไม่ยุติการตั้งครรภ์
แนะนำพักผ่อนให้เพียงพอ
แนะนำดื่มน้ำให้เพียงพอ จิบบ่อยๆ
แพทย์อาจพิจารณาฉีดImmunoglobulin
ถ้ามีไข้แนะนำให้ยาparacetamalตามแพทย์สั่ง
ซิฟิลิส
การวินิจฉัย
การตรวจเลือด
การตรวจ VDRL หรือ RPR
FTA-ABS
ส่งตรวจน้ำไขสันหลัง
ภาวะแทรกซ้อน
ทารกในครรภ์โตช้า
ทารกบวมน้ำ
การคลอดก่อนกําหนด
ทารกตาบอด
เสี่ยงต่อการแท้งหลังอายุครรภ์ 4 สัปดาห์
Congenital syphilis
ระยะหลัง
พบอายุมากกว่า 2 ปี
แก้วตาอักเสบ ฟันหน้าแหว่งเว้าคล้ายจอบ หูหนวก จมูกยุบ หน้าผากนูน
ระยะแรก
น้ำหนักตัวน้อย ตับม้ามโต ต่อมน้ำเหลืองโต ผิวหนังฝ่ามือฝ่าเท้าพองและลอก น้ำมูกมากเสียงแหลม
พบตั้งแต่คลอดถึง 1 ปี
wimberger ’s sign ปลายส่วนบนกระดูก tibia กร่อนทั้งสองข้าง
อาการและอาการแสดง
Secondary syphilis
ทั่วตัว ผ่ามือผ่าเท้า ไข้ปวด ตามข้อ ข้ออักเสบ น้ำเหลืองโต ผมร่วง
Tertiary or late syphilis
ทําลายอวัยวะภายในเช่น หัวใจ และหลอดเลือดสมอง ตาบอด
Primary syphilis
แผลริมแข็งมีตุ้มแดง
การรักษา
ระยะปลาย
ให้ยา Benzathine penicillin G 2.4 mU IM สัปดาห์ ละครั้ง นาน 3 สัปดาห์ แบ่งฉีดที่สะโพก ข้างละ 1.2 mU
อาจลดอาการปวดโดยผสม 1% Lidocaine 0.5-1 ml
ระยะต้น
ให้ยา Benzathine penicillin G 2.4 mU IM ครั้งเดียว แบ่งฉีดสะโพก ข้างละ 1.2 mU
อาจลดอาการปวด โดย ผสม 1% Lidocaine0.5-1 ml
การพยาบาล
ระยะคลอด
ป้องกันการติดเชื้อโดยการดูดเมือกออกจากปากและจมูกโดยเร็ว
เจาะเลือดจากสายสะดือทารกเพื่อส่งตรวจการติดเชื้อซิฟิลิส
ระยะหลังคลอด
สามารถให้นมได้ตามปกติล้างมือก่อนและหลังสัมผัสทารก
แนะนํารับประทานยาและกลับมาตามนัดติดตามผลการรักษา
ให้คำแนะนำการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ระยะตั้งครรภ์
แนะนํามาฝากครรภ์ตามนัดและติดตามผลการรักษาเมื่อครบ 6และ 12 เดือน
แนะนำรักษาความสะอาดและป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
หากมีการติดเชื้อดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
แนะนําพาสามีมาตรวจคัดกรอง
ส่งคัดกรอง VDRL ครั้งแรกที่มาฝากครรภ์และตรวจซ้ำเมื่ออายุครรภ์ 28-32 สัปดาห์หรือห่างอย่าน้อย 3 เดือน
ดูแลด้านจิตใจ
อธิบายความสำคัญของการคัดกรองความสี่ยงของโรคผลต่อทารกในครรภ์
โรคเริมที่อวัยวะเพศ
อาการและอาการแสดง
ไข้ ปวดเมื่อยตัว
อาการปวดแสบปวดร้อนมาก
ต่อมน้ำเหลืองโต และอ่อนเพลีย
Vesicles ที่ผิวหนังของอวัยวะเพศ
ภาวะแทรกซ้อน
ไข้
หนาวสั่น
ตุ่มใสๆ
ซึม
ตับม้ามโต
ตาอักเสบ
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย
สังเกตเห็นตุ่มน้ำใสจะแตกเป็นแผลอักเสบ มีการปวดแสบปวดร้อนมาก ขอบแผลกดเจ็บค่อนข้างแข็ง
ลักษณะตกขาว
ซักประวัติ
ปัจจัยเสี่ยง ประวัติการสัมผัสผู้ติดเชื้อ
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-การเพาะเชื้อ (culture)จะพบmultinucleated giant cell
การรักษา
-การให้ยา antiviral drug เช่น acyclovir, valacyclovir และ famciclovir
ควรให้ยาปฏิชีวนะและควรดูแลแผลให้สะอาดในรายที่ติดเชื้อ แผลไม่สะอาด
กรณีที่มี Herpes lesion ควรได้รับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
การพยาบาล
ระยะคลอด
เน้นการใช้หลัก Universal precaution
และหลีกเลี่ยงการทําหัตถการ
ระยะหลังคลอด
สามารถให้นมได้ตามปกติ ล้างมือก่อน
และหลังสัมผัสทารก
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำการดูแลแผลให้แห้งและสะอาดอยู่เสมอ
ล้างแผลด้วยน้ำเกลือ 0.9% หรือสารละลาย zinc sulphate 0.25-1% วันละ2-3ครั้ง
ลดความไม่สบายจากการปวดแสบปวดร้อน
แนะนำกานั่งแช่ก้นด้วยน้ำอุ่น
ดูแลให้ยาต้านไวรัสตามแผนการรักษา
หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ขณะมีแผล
นางสาวสุกัญญา พลเยี่ยม รหัสนักษา602701104 นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่ 3 รุ่นที่ 35