Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3.6 การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบโครงสร้างและกล้ามเนื้อ unnamed, น.ส…
บทที่ 3.6 การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบโครงสร้างและกล้ามเนื้อ
:checkered_flag:
การบาดเจ็บกระดูกและข้อ
พบบ่อยในผู้ป่วย
อุบัติเหตุจราจร
การทำงาน
อุบัติเหตุ
การเล่นกีฬา
มักเกิดร่วมกับการบาดเจ็บอื่นๆ
การบาดเจ็บศีรษะ
การบาดเจ็บช่องอกช่องท้อง
มีปัญหากระดูก
Pelvic fracture และ Open fracture
ต้องระวังเรื่องการเสียเลือดจน
อาจทําให้เกิด
Hypovolemic shock
ได้
กระดูกหักร่วมกับอาการ
บวม ปวดมาก
ต้องพึงระวังภาวะ
Compartment syndrome
หากช่วยเหลือช้าอาจทําให้เกิดความ
พิการ
ได้
กระดูกหัก
Multiple long bone fracture
มีโอกาสเกิดภาวะ
Pulmonary embolism
และเสียชีวิตได้
:fountain_pen:Definitive care
Recognition
ตรวจประเมินกระดูกหัก ข้อเคลื่อน และการบาดเจ็บอื่น
Reduction
เป็นการจัดกระดูกให้เข้าที่
ให้ใกล้เคียงกับภาวะปกติมากที่สุด
(แพทย์ทำ)
รูปแบบการจัด
Open reduction
Close reduction
:warning:
ไม่จัดกระดูกใน Impacted fracture
เพราะอาจทําให้กระดูกที่อัดเข้าหากันเคลื่อนหลุด
Retention
Immobilization เป็นการประคับประคองให้กระดูกมีการ
เคลื่อนที่น้อยที่สุด
เพื่อ
ลดการบาดเจ็บเพิ่มเติมต่อ soft tissue
ลดการเจ็บปวด
ลดการสูญเสียเลือด
:warning:ประคองปลายทั้งสองด้านของกระดูกที่หักให้นิ่งที่สุด
:forbidden:ถ้ากระดูกมีการผิดรูปให้จัดกระดูกให้เข้าที่อย่างเบามือก่อนโดยจัดให้ได้รูปตามธรรมชาติ
แล้วประเมินอาการขาดเลือดที่ส่วนปลาย >> จากนั้นจึงทําการ Splint ก่อนการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยทุกครั้ง
Rehabilitation
ฟื้นฟูสมรรถภาพของส่วนที่บาดเจ็บ
Reconstruction
แก้ไขซ่อมแซมส่วนที่สูญเสียจากการบาดเจ็บหรือภาวะแทรกซ้อน
ให้กลับมาใช้งานได้ดีขึ้น
Refer
ส่งต่อไปรักษาที่เหมาะสม
:pen:Primary survey และ Resuscitation
ปัญหาสําคัญ
เสียเลือดจากการบาดเจ็บ
การ Control bleeding ดีที่สุดคือ
Direct
pressure ด้วย Sterile pressure dressing
เกิดภาวะ Hypovolemic หรือ Hemorrhage shock
ในผู้ป่วยที่กระดูกผิดรูป หรือ fracture
ทํา splint ให้เหมาะสม เพื่อลดอาการปวด
ให้ IV fluid
ให้ O2
ระหว่างการทํา Primary survey และ Resuscitation
พยาบาลควรทํา
Immobilization
เพื่อจัดกระดูกให้อยู่ในตําแหน่งที่ปกติ
ใส่Splint ให้ครอบ
คลุมข้อบนและข้อล่างของตําแหน่งที่กระดูกหัก
เพื่อลดการขยับเลือน ให้ปวดน้อยที่สุด
:pencil2:Secondary survey
ประเมินผู้ป่วย
:silhouette:ซักประวัติ
ระยะเวลา
สถานที่
สาเหตุการเกิด
การรักษาเบื้องต้น
:silhouettes:ตรวจร่างกาย
การตรวจอย่างละเอียด Secondary survey
มีการเคลื่อนไหวผิดปกติ
มีเสียงกระดูกขัดกัน (Crepitus)
กระดูกผิดรูป โก่งงอ หดสั้นหรือบิดหมุน
การตรวจคร่าวๆ เพื่อ Screening test
ใช้ระยะเวลาสั้นๆ เมื่อพบผู้ป่วยตอนแรก ใน
ผู้ป่วยที่มีระดับความรู้สึกตัวดี
กระดูกแขนขา
ให้pt ยกแขนขาทั้งสองข้าง
> หากพบว่าผู้ป่วยสามารถยกแขนขาได้
ตามปกติ แสดงว่าผู้ป่วยไม่น่าจะมีกระดูกหัก
กระดูกเชิงกรานและกระดูกซี่โครง
ตรวจกระดูกซี่โครง
ให้pt ผู้ป่วยนอนหงาย ออกแรงกดบริเวณ Sternum
แล้วบีบด้านข้างทรวงอกทั้งสองข้างเข้าหากัน
:explode:หากเจ็บปวดแสดงว่าอาจเกิดการหักของกระดูกซี่โครง
ตรวจกระดูกเชิงกราน
ออกแรงกดบริเวณ anterior superior iliac spine ทั้งสองข้าง
พร้อมกันในแนว Anterior-posterior แล้วบีบด้านข้างเข้าหากัน
และกดบริเวณ Pubic symphysis
:explode:ถ้ากระดูกหักผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บปวด
กระดูกสันหลัง
ให้ptยกคอ หันศีรษะอย่างระมัดระวัง ในท่านอนหงาย > ถ้าสามารถทําได้แสดงว่าอาจไม่มีการหักของกระดูกสันหลังส่วนคอ
แล้วให้ผู้ป่วยนอนหงายพลิกตะแคงตัวแบบท่อนซุง ใช้มือคลําตามแนวกระดูกสันหลังตลอดแนว
:explode:หากมีการบาดเจ็บกระดูกสันหลัง
จะพบอาการกดเจ็บ บวมผิดรูป
การตรวจและรักษา Life threatening และ Resuscitation
:check:การเอกซเรย์
จะทําเมื่อผู้ป่วยปลอดภัย พ้นขีดอันตรายแล้ว
หลักการ
:star:ถ่ายเอกซเรย์ 2 ท่าในแนวตั้งฉากกัน คือ Anterior-posterior
:star:ถ่ายเอกซเรย์ให้ครอบคลุมกระดูกส่วนที่หักรวมส่วนข้อปลายกระดูกทั้งสองด้าน
:warning:
ภาวะกระดูกหักที่คุกคามชีวิต
:<3:Major Pelvic disruption with Hemorrhage
ผู้ป่วย Pelvic fracture ร่วมกับภาวะHypovolemic shock
คำนึงถึง
ภาวะ unstable pelvic fracture จากการฉีกขาดของอวัยวะภายใน
การบาดเจ็บของเส้นเลือด เส้นประสาทร่วมด้วย
การบาดเจ็บของ Bladder และUrethra
การตรวจร่างกาย
ดู
พบ Progressive flank
พบ Scrotum และ Perineum บวม
มีแผลฉีกขาดบริเวณ Perineum และ Pelvic
คลํา
พบกระดูก Pelvic แตก
PR examination พบ high-riding prostate gland
มีเลือดออกบริเวณ Urethral meatus
การเคลื่อนไหว
ขาข้างที่ผิดปกติจะสั้น
เนื่องจากถูกกล้ามเนื้อดึงขึ้นข้างบน และหมุนออกด้านนอกจากแรงโน้มถ่วงของโลก
บางรายอาจไม่พบอาการชัดเจน ให้ตรวจครั้งเดียว แล้วจึงตรวจดู Sacral nerve root และ Plexus ด้วย
ระบบไหลเวียน
ความดันโลหิตต่ำ
เอกซเรย์ในรายที่สงสัย
การช่วยเหลือเบื้องต้น
Control bleeding
โดยการทํา Stabilization pelvic ring
จาก external counter pressure และ Fluid resuscitation
:warning:ในกรณีที่ผู้ป่วยยังมี Hemodynamic abnormality ต้อง consult แพทย์ศัลยกรรมเฉพาะทาง
:<3:Major Arterial Hemorrhage
การฉีกขาดของหลอดเลือด
อาจเป็นแบบ
Blunt trauma หรือ Penetrating wound
เสียเลือดจํานวนมาก
เกิด
Hypovolemic
shock
ได้
ลักษณะของการบาดเจ็บหลอดเลือดแดง
(Hard signs)
Pulsatile bleeding บริเวณบาดแผล
hematoma มีขนาดใหญ่ขึ้น
คลําได้ thrill
ฟังได้ bruit
6Ps
Poikilothermia
Paresthesia
Pallor
Paralysis
Pain
Pulselessness
:forbidden:ภาวะผิดปกติของชีพจรนั้นอาจสับสนกับภาวะ Shock
หลังจากรักษาภาวะ Shock แล้วจึงประเมินซ้ำเปรียบเทียบกับข้างที่ปกติ
โดยใช้ Doppler ultrasound ตรวจหาความผิดปกติของหลอดเลือด
การช่วยเหลือเบื้องต้น
ทํา Direct pressure บริเวณบาดแผลเพื่อหยุดเลือด
Fluid resuscitation
ในรายที่กระดูกผิดรูป
จัดกระดูกให้เข้าที่แล้วทําการ Splint
:<3:Crush Syndrome
พบอาการ
Dark urine
Hemoglobin ได้ผลบวก
Creatinin kinase สูง
Renal failure และ ภาวะ DIC > เสียชีวิตได้
เกิดภาวะ Rhabdomyolysis
Hypovolemia
Metabolic acidosis
Hyperkalemia
Hypocalcemia
DIC
เป็นภาวะที่มีการบาดเจ็บกล้ามเนื้ออย่างรุนแรง
บริเวณ thigh และ calf muscle
ทําให้เซลล์กล้ามเนื้อขาดเลือดและตาย
มันจะปล่อย Myoglobin เกิดภาวะ
Rhabdomyolysis
การช่วยเหลือเบื้องต้น
ให้ Fluid resuscitation
ให้ Osmotic diuretic
เพื่อรักษาระดับ Tubular volume และ Urine flow
แพทย์ให้
Sodium bicarbonate
เพื่อช่วยลด Myoglobinที่ไปทําลาย Tubular system
ระหว่างการให้สารน้ําและยา > จะ
ประเมิน Urine output
ให้ได้ 100 cc./ชั่วโมง จนกว่าปัสสาวะจะใส (clear myoglobinuria)
:red_flag:
สิ่งที่มีความสําคัญในการรักษาแขนขา
ปริมาณการไหลเวียนของเลือดไปเลี้ยงส่วนปลายเพียงพอ
กระดูกหักข้อเคลื่อนอาจทําให้หลอดเลือดฉีกขาดหรืออุดตันได้
การฉีกขาดของหลอดเลือดที่มีการ
เสียเลือดมาก อาจทําให้เกิด Hemorrhagic shock ได้
การขาดเลือดของเนื้อเยื่อส่วนปลายทำให้
สูญเสียการทํางานของเส้นประสาท
เกิดการเน่าตายของเนื้อเยื่อส่วนปลาย
:fire:ขาดเลือด
นานกว่า 6 ชั่วโมง
ถือว่าเป็น Golden period ที่ต้องรีบให้การช่วยเหลือ
น.ส.สุณิสา บัวหอม 6001211085 Sec B