Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
MECONIUM ASPIRATION SYNDROME, การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มารดาติดสารเสพติดในระ…
MECONIUM ASPIRATION SYNDROME
ทารกที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะนี้
ทารกคลอดที่ครรภ์เกินกำหนด
นํ้าหนักแรกคลอดตํ่า
การคลอดนานทางช่องคลอด
มารดามีความดันเลือดสูงขณะตั้งครรภ์
ภาวะครรภ์เป็นพิษและมารดา
มีนํ้าหนักมากเกินกว่าปกติขณะตั้งครรภ์
อาการแสดง
ทารกที่เป็น MAS มักเป็นทารกที่คลอดครบกำหนดหรือเกินกำหนด
มีประวัติ fetal distress
Apgar score ตํ่า
มีขี้เทาในนํ้าครํ่า (thick mecomium stained amniotic fluid)
รุนแรงน้อย
ทารกจะหายใจเร็วเพื่อเพิ่ม minute ventilation
ทำให้ความดันคาร์บอนไดออกไซด์ลดลง
ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของเลือด
เข้าสู่ภาวะปกติ
อาการจะหายไปภายใน 24 ชั่วโมง
รุนแรงปานกลาง
ทารกจะมีอาการของการกดการหายใจ
หายใจเร็ว
ช่องซี่โครงยุบลงขณะหายใจ
เขียวคล้ำ
อาการจะค่อยๆ ทวีความรุนแรง
มีความรุนแรงสูงสุดภายใน 24 ชั่วโมง
มักหายได้ภายใน 4-7 วันหากไม่มีอาการแทรกซ้อน
รุนแรงมาก
ทารกจะมีการหายใจล้มเหลวทันทีหลังคลอด
2-3 ชั่วโมงหลังคลอดอาการของกดการหายใจชัดเจน
ฟังเสียงปอดได้ rhonchi และ crackle
อาจมีอาการเลือดขาดออกซิเจนอย่างรุนแรง
ไม่ดีขึ้นเมื่อให้ออกซิเจนเนื่องจากภาวะของแรงดันเลือดในปอดที่สูงมาก
การรักษา
เตรียมอุปกรณ์ในการดูดเสมหะและเครื่องมือในการใส่ท่อช่วยหายใจและอุปกรณ์ที่ให้ออกซิเจนให้พร้อม
มีความเสี่ยงต่อการสำลักขี้เทาให้ใช้ลูกยางแดงดูดทางปากและจมูกเมื่อศีรษะทารกพันจากช่องคลอด
ในรายที่มีขี้เทาที่เหนียวและปริมาณมากจะใส่ท่อช่วยหายใจและดูดขี้เทาออกทางท่อช่วยหายใจ
หลังจากดูดออกหมดแล้ว หากทารกไม่หายใจควรให้แรงดันบวกผ่านทางท่อช่วยหายใจ
หลังจากนั้นจะดูดขี้เทาจากกระเพาะอาหาร โดยการดูดจากสายยางให้อาหารผ่านทางจมูกหรือปาก
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มารดาติดสารเสพติดในระยะตั้งครรภ์
ผลของการสูบบุหรี่ในระยะตั้งครรภ์ต่อทารกในครรภ์และทารกแรกเกิด
หลอดเลือดหดรัดตัว (vasoconstriction)
ระดับคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดมาก
ขาดออกซิเจนอย่างเรื้อรัง มารดาแท้งหรือทารกตาย
ทารกในครรภ์มีกลุ่มอาการติดบุหรี่ (fetal tobacco syndrome )
fetal tobacco syndrome
ทารกมีการเจริญเติบโตช้า
น้ำหนักตัวต่ำกว่าปกติ 150-300 กรัม
เกิดก่อนกำหนด
เกิดภาวะหายใจลำบาก (respiratory distress)
ทารกมีปากแหว่ง เพดานโหว่
ไส้เลื่อน(inguinal hernia)
ตาเหล่ (strabismus)
ระดับ IQ (intelligence quota) ต่ำ
ทารกโตขึ้นจะมีบุคลิกไม่อยู่นิ่ง (hyperactive)
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มารดาดื่มแอลกอฮอล์ในระยะตั้งครรภ์
ทารกแรกเกิดที่มีภาวะ FAS อย่างรุนแรง
มีการเจริญเติบโตช้าในครรภ์
มีการเจริญเติบโตของกล้ามเนื้อและระบบประสาทไม่ดี
ระดับสติปัญญา (IQ) ต่ำ
มีลักษณะผิดปกติของรูปหน้าอย่างชัดเจน ศีรษะเล็ก
เป็นโรคหัวใจแต่กำเนิด
ลักษณะผิดปกติภายนอก
แนวทางการรักษา
ให้มารดาเลิกดื่มสุราเมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์
ทารกให้ยาที่ใช้รักษาระบบประสาทส่วนกลางให้ทำงานดีขึ้น
ให้ยาระงับหรือป้องกันการชัก คือ Phenobarbital หรือ diazepam
ผลจากการเสพเฮโรอีนในระยะตั้งครรภ์ต่อทารกในครรภ์และทารกแรกเกิด
ทารกมีภาวะออกซิเจนในเลือดต่ำ (hypoxia)
ทารกเกิดก่อนกำหนด เนื่องจากมีการติดเชื้อร่วมกับการเกิดถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
ความพิการแต่กำเนิด อาจเกิดจากการติดเชื้อ
ภาวะตับอักเสบ
ซิฟิลิสแต่กำเนิด
การเจริญเติบโตล่าช้า เกิดภาวะ IUGR , SGA
ทารกแรกเกิดที่มีภาวะถอนยา
ภายใน 24-48 ชั่วโมง
มีอาการทางระบบประสาท
มีการเคลื่อนไหวมากกว่าปกติ
กระสับกระส่าย พักผ่อนไม่ได้ นอนหลับยาก
แขนขาสั่นหรือสั่นทั้งตัว moro reflex ไม่ดี
ร้องเสียงแหลมและร้องกวนผิดปกติ
ปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งที่มากระตุ้นไวกว่าปกติ
แนวทางการรักษา
ให้ยา
ใช้เป็นเกณฑ์ที่ Finnegan เป็นผู้คิดขึ้นประเมินความรุนแรงของภาวะถอนยา
ให้คะแนนจากลักษณะอาการและอาการแสดงของทารกตั้งแต่แรกเกิด
ประเมินทุก 1 ชั่วโมงตลอด 24 ชั่วโมง
อาการดีขึ้น ประเมินทุก 12 ชั่วโมง 6 ชั่วโมงและ4 ชั่วโมง ตามลำดับ
ประเมินได้ 7 คะแนนหรือต่ำกว่า ห้ามให้ยากล่อมประสาท
ประเมินได้ 8 คะแนนขึ้นไปให้การรักษาโดยให้ยาร่วมกับการรักษาทั่วๆไป