Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุป - Coggle Diagram
สรุป
ติดสารเสพติด
อาการ
หมกมุ่นกับยาเสพติด หงุดหงิดง่าย ระเเวง ซึมเศร้า ประสาทหลอน หลงผิด
ขาดความรับผิดชอบ แยกตัวจากสังคม ก้าวร้าว ทำร้ายตนเองหรือผู้อื่น
พบรอยอุบัติเหตุ พบโรคติดต่อ อ่อนแรง ขาดสารอาหาร ประสาทหลอน
การบำบัด
Bio-psycho-social treatment (การรักษาโดยใช้ยา)
Psychological treatment (รักษาทางจิต โดยใช้จิตบำบัด)
Social-treatment (ให้สังคมยอมรับ) ให้คำแนะนำแก่ครอบครัวและผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วย ในการปฏิบัติและเข้าใจต่อผู้ป่วย
ติดบุหรี่
การบำบัด
ใช้ยาในการรักษา
บำบัดรายบุคคลหรือแบบกลุ่ม
ใช้ครอบครัวในการช่วยบำบัด
การให้คำปรึกษาแก่ผู้ป่วยและผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วย
ใช้กิจกรรมในการบำบัด
จัดสิ่งแวดล้อมต่อพฤติกรรมผู้ป่วย เพื่อการบำบัด
สร้างกำลังใจในการเลิกบุหรี่โดยการตั้งเป้าหมายการเลิกเหล้าหรือให้ครอบครัวให้กำลังใจ
อาการ
ผู้หยุดบุหรี่ ก้าวร้าว หงุดหงิด โกรธง่าย กระวนกระวาย วิตกกังวล
ไม่มีสมาธิ อยู่ไม่นิ่ง ซึมเศร้า นอนไม่หลับ
Hallucination (ประสาทหลอน)
อาการ
Auditory hallucination (หูแหว่ว)
Visual hallucination (เห็นภาพหลอน )
Tactile Hallucination (ประสาทหลอนทางการสัมผัส)
Olfactory Hallucination (ประสาทหลอนทางการได้กลิ่น)
Gustatory Hallucination (ประสาทหลอนทางการรับรส)
การบำบัด
ให้คำปรึกษาด้านสุขภาพจิต สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับตัวโรคแก่ผู้ป่วย
ให้คำแนะนำในการใช้ชีวิตประจำวันรวมถึงแนวทางการแก้ปัญหาต่าง ๆ
การรักษาด้วยยา การใช้ยารักษาโรคทางจิตและหรือโรคทางสมอง
ส่งเสริมให้อยู่ในดลกของความเป็นจริง
ยอมับพฤติกรรมผู้ป่วย โดยไม่ล้อเลียน
หลงผิด(Delusion)
อาการ
Delusion of Persecution คิดว่าผู้อื่นจะทำร้าย
Delusion of reference คิดว่าผู้อื่นว่าร้าย นินทาตน
Delusion of grandeur คิดว่าตนเองเป็นใหญ่ ทีอำนาจเหนือผู้อื่น
Delusion of beng controlled คิดว่ามีอำนาจนอกมาบังคับพฤติกรรมของตน
Delusion of somatic คิดว่าตนเจ็บป่วยทางร่างกาย
Delusion of nihilistic คิดว่าอวัยวะในร่างกายขาดหาย
การบำบัด
เน้นที่สัมพันธภาพในการรักษา
รับฟังด้วยความเข้าใจ ไม่โต้แย้งคัดค้านอาการหลงผิดว่าไม่จริง
ไม่สนับสนุนความเชื่อของผู้ป่วย
การรักษาด้วยยา ด้วยยารักษาโรคจิตโดยอยู่ในความดูแลของแพทย์
โรคจิตเภท (Schizophrenia)
อาการ
ทางบวก;หลงผิด ประสาทหลอน พูดจาสับสนมาก วุ่นวาย พฤติกรรมเรื่อยเปื่อย
ทางลบ:เฉยเมย ไม่ค่อยพูด เฉื่อยชา ไม่สนเรื่องความสะอาดของกาย
การบำบัด
ด้วยยา antipsychotic drugs
ด้วยไฟฟ้า (ECT)
การฟื้นฟูสภาพจิตใจ
การฝึกการเข้าสังคม
การฝึกอาชีพ
การให้คำปรึกษา
ครอบครัวบำบัด
กลุ่มบำบัด
การทำจิตบำบัด
ติดสุรา
อาการ
ก้าวร้าว กระวนกระวาย เคลื่อนไหวมาก ไม่รู้สึกตัว พูดมาก เดินเซ ความจำไม่ดี
เมื่อลดหรือหยุด เกิดอาการสับสน อ่อนเพลีย ประสาทหลอน นอนไม่หลับ มือสั่น อยู่ไม่นิ่ง
การบำบัด
การให้คำแนะนำแบบสั้นและการให้คำปรึกษา
การให้ความช่วยเหลือแบบสั้น โดยสร้างความตระหนัก ให้ข้อมูล วางแผนเพื่อลดหรือเลิกสุรา
ถอนผิด โดยใช้ยาและการดูแลสุขภาพ เพื่อป้องกันรักษาอาการลงแดง
รักษาอาการลงแดง โดยใช้ยาและการสนับสนุนทางการแพทย์
สร้างกำลังใจในการเลิกเหล้าโดยการตั้งเป้าหมายการเลิกเหล้าหรือให้ครอบครัวให้กำลังใจ