Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การบริหารคุณภาพทาง การพยาบาล - Coggle Diagram
บทที่ 7
การบริหารคุณภาพทาง
การพยาบาล
๑.แนวคิดและหลักการบริหารคุณภาพทางการพยาบาล
๒. แนวคิดการพัฒนาคุณภาพของจูแรน (Juran)
๒) การควบคุมคุณภาพ (Quality control)
๓) การปรับปรุงคุณภาพ (Quality improvement)
๑) การกำหนดเป้าหมายคุณภาพ
๓. การพัฒนาคุณภาพตามแนวคิดของครอสบี (Crosby)
๒) ไม่มีปัญหา
๓) ทำได้ถูกกว่าเสมอ
๑) คุณภาพ
๔) ตัวชี้วัดผลงาน
๕) มาตรฐานของผลงาน
๑.แนวคิดการพัฒนาคุณภาพของเดมมิ่ง(Deming)
PDCA
(Do) การปฏิบัติ
(Check)การตรวจสอบ
(Plan)การวางแผน
(Act) การปฏิบัติจริง
๔. แนวคิดการพัฒนาคุณภาพที่ยั่งยืน (Continuous quality improvement ,CQI)
๒)เป็นการปรับปรุงวิธีการทํางานจากงานประจํา
๓)เป็นกระบวนการแก้ปัญหาโดยใช้ข้อมูล
๑) เน้นการตอบสนองต่อผู้รับผลงานเป็นสําคัญ
๕.การเชื่อมโยงการใช้ RM, QA , CQI และการวิเคราะห์ก้างปลา(Fish bone)
ผังก้างปลา (Fish Bone Diagram)
ประโยชน์
๒. ใช้ศึกษา ทำความเข้าใจ หรือทำความรู้จักกับกระบวนการอื่น ๆ
๓. ใช้เป็นแนวทางในการระดมสมอง ซึ่งจะช่วยให้ทุกๆ คนให้ความสนใจในปัญหาของกลุ่มซึ่งแสดงไว้ที่หัวปลา
๑. ช่วยให้วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาได้อย่างมีเหตุผล เจาะลึกถึงสาเหตุรากเหง้า (root cause)
วิธีการสร้างแผนผังก้างปลา
๒.เขียนลูกศรชี้ที่หัวปลาแทนกระดูกสันหลังของปลา
๓.เขียนก้างใหญ่ให้ลูกศรวิ่งเข้าสู่กระดูกสันหลัง เพื่อระบุถึงกลุ่มใหญ่ของสาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหา
๑.กำหนดประโยคปัญหาที่ต้องแก้ไขมาเขียนไว้ที่หัวปลา
๔.เขียนก้างกลางแยกออกจากก้างใหญ่เพื่อแสดงสาเหตุของก้างใหญ่-เขียนก้างเล็กแยกออกจากก้างกลางเพื่อแสดงสาเหตุของก้างกลาง-เขียนก้างย่อยแยกออกจากก้างเล็กเพื่อแสดงสาเหตุของก้างเล็ก
๕.ระดมสมองหาสาเหตุของปัญหาโดยการตั้งคำถามทำไมๆๆๆๆ ซ้ำๆกัน ๕-๗ ครั้ง ในการเขียนก้างย่อยๆ
หลักการ ๔ M ๑ E
M Machine เครื่องจักรหรืออุปกรณ์อำนวยความสะดวก
M Material วัตถุดิบหรืออะไหล่ อุปกรณ์อื่นๆ ที่ใช้ในกระบวนการ
M Method กระบวนการทำงาน
E Environment อากาศ สถานที่ ความสว่าง และบรรยากาศการทำงาน
M Man คนงาน หรือพนักงาน หรือบุคลากร
ข้อควรระวังในการใช้แผนภาพก้างปลา
๒. แผนภาพก้างปลาหน้างาน ต้องคำนึงถึงสาเหตุที่เกิดขึ้นจริง
๓. ข้อความที่ระบุในก้างปลาเป็นเพียง สมมุติฐานของสาเหตุ ไม่ใช่สาเหตุที่แท้จริง อย่าพึ่งหาคนผิด
๑. สาเหตุความผันแปรในก้างปลาต้องมาจากการระดมสมอง ภายใต้หลักการ ๓ จริง คือสถานที่เกิดเหตุจริง ด้วยของจริง ภายใต้สภาวะแวดล้อมจริง
การนำผลการวิเคราะห์ไปใช้
เมื่อได้สาเหตุของปัญหาแล้ว เลือกสาเหตุที่เชื่อว่าน่าจะสามารถแก้ปัญหาตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ได้มาวางแผนแก้ไขปัญหาต่อไป โดยใช้ Deming cycle (Plan-Do- Check-Act: P-D-C-A)
๓.ระบบบริหารสุขภาพ
การรับรองคุณภาพโรงพยาบาล(Hospital Accreditation: HA)
หลักการของการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (Hospital Accreditation) การประเมินและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ร่วมกับการทบทวนผลการประเมินโดยผู้อื่นเน้นการพัฒนาศักยภาพของคน
วัตถุประสงค์ของมาตรฐาน HA มาตรฐาน HA คือ กรอบความคิดที่สื่อให้เห็นถึงองค์ประกอบสำคัญของสถานพยาบาลที่มีคุณภาพและความสัมพันธ์ขององค์ประกอบเหล่านั้น
ประโยชน์จากการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (Hospital Accreditation) ความเสี่ยงลดลงทำงานง่ายขึ้น บรรยากาศการทำงานดีขึ้น ผู้ป่วยได้รับการดูแลที่ดีขึ้น เป็นโอกาสที่ขายความฝันส่วนตัว ภูมิใจที่ทำงานในหน่วยงานที่มีระบบดี
การพัฒนาคุณภาพบริการแบบเครือข่าย (Hospital Network Quality Audit: HNQA)
การปฏิบัติตามจรรยาวิชาชีพซึ่งโรงพยาบาลต้องจัดให้องค์ประกอบของบริการได้คุณภาพทั้งหมดดังนี้
๒. Mechanize service เครื่องมืออาคารสถานที่ที่ให้บริการแล้วไม่ได้ให้ผู้ป่วยไปด้วย
๓. Personalized serviceคือ การทำหัตถการ การดูแล
๑. Product content in service คือ อุปกรณ์การให้บริการที่ให้ผู้ป่วยไปด้วย
การพัฒนาคุณภาพโดยใช้วิธีการทำงานที่ดีจากสนามจริง (Standardization) กำหนดเป็นลายลักษณ์อักษร ฝึกผู้ใช้ให้เข้าใจ จูงใจให้คนปฏิบัติตาม เฝ้าติดตามผลว่าวิธีนั้นดีหรือไม่ และการปรับแต่งให้ตรงกับที่กำหนดวิธีการบริการที่เหมาะสม (Service procedure) คือการปฏิบัติตามระเบียบปฏิบัติ (Work instructions: WI)
ระบบมาตรฐาน(ISO)
มาตรฐาน ISO ๙๐๐๐
“ คุณภาพ ” ตามมาตรฐาน ISO ๙๐๐๐ จึงหมายถึงลักษณะและคุณสมบัติทั้งหมดของผลิตภัณฑ์สินค้าหรือการบริการที่แสดงถึงความสามารถว่าอยู่ในสถานะที่พึงพอใจ หรือตามความต้องการของลูกค้าที่ได้กำหนดไว้ องค์การที่ได้รับการรับรองตามาตรฐาน ISO ๙๐๐๐
ประโยชน์ของมาตรฐาน ISO ๙๐๐๐สร้างความน่าเชื่อถือและสร้างความมั่นใจให้แก่ลูกค้าแล้วยังเป็นการประชาสัมพันธ์ว่า สินค้าหรือบริการขององค์การมีคุณภาพ ISO ๙๐๐๐ ยังเป็นเครื่องมือที่มีคุณภาพในการปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลขององค์การด้วย
มาตรฐาน ISO ๑๔๐๐๐
มาตรฐานสากลว่าด้วยการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม(Environmental Management) ขององค์การให้มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด
แนวคิดของมาตรฐาน การจัดการสิ่งแวดล้อมเป็นผลสืบเนื่องมาจากแนวความคิดที่ว่า “ธุรกิจและสิ่งแวดล้อมเป็นสิ่งที่ต้องดำเนินการควบคู่กันไปเพื่อให้เกิดการพัฒนาธุรกิจแบบยั่งยืน(Sustainable Management) โดย เฉพาะภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม
มาตรฐาน ISO ๑๘๐๐๐
มาตรฐาน ISO ๑๘๐๐๐ หรือ OH & S ที่ถูกกำหนดขึ้นมานั้น จะอาศัยมาตรฐาน BS ๘๘๐๐ : Occupational Health and Safety Management System ของประเทศอังกฤษเป็นต้นแบบ ซึ่งเป็นเพียงมาตรฐานคำแนะนำเท่านั้น ดังนั้น BS ๘๘๐๐ จึงระบุไว้ว่า ไม่สมควรนำมาตรฐานนี้ไปใช้เพื่อรับรอง กระแสโลกาภิวัตน์
ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มีวัตถุประสงค์หลักคือ การกำหนดมาตรการป้องกันการบาดเจ็บพิการและโรคภัยต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการประกอบอาชีพ เพื่อลดความเสี่ยงภัยที่มีต่อพนักงานและผู้เกี่ยวข้องให้เหลือน้อยที่สุด
มาตรฐาน ISO ๒๖๐๐๐
มาตรฐาน ISO ๒๖๐๐๐ สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางการดำเนินการเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคมในองค์กรได้ทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานในภาครัฐหรือเอกสาร องค์กรที่แสวงหากำไรหรือไม่แสวงหากำไร รวมถึงในภาคส่วนต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นภาคอุตสาหกรรม การบริการ การศึกษา สาธารณสุข ขนส่ง หรืออื่น ๆ นอกจากนั้น ยังสามารถนำไปใช้ได้ทั้งในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว และกำลังพัฒนาด้วย
๒.การประกันคุณภาพทางการพยาบาล(QA)และมาตรฐานทางการพยาบาล(Nursing standard)
วัตถุประสงค์ของการประกันคุณภาพ
1.เพื่อให้การปฏิบัติการพยาบาลเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนดขึ้น
2.เพื่อปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการบริการพยาบาลให้ดีขึ้น
แนวคิดการประกันคุณภาพการพยาบาล
๒. แนวคิดของการประกันคุณภาพการพยาบาลในช่วง ค.ศ. ๑๙๕๒ – ๑๙๙๒
สมาคม (American nurses association : ANA) ได้แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนามาตรฐานเพื่อเป็นการพัฒนาการพยาบาลและการประเมินคุณภาพแต่ยังเป็นการดำเนินการเฉพาะเรื่อง
๓. แนวคิดการประกันคุณภาพการพยาบาลเน้นที่กระบวนการ
ประเมินคุณภาพและนำผลมาพัฒนาปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง โดยใช้กระบวนการพัฒนาคุณภาพทั้งองค์การเป็นการแก้ปัญหาทั้งระบบมากกว่าแก้จุดเล็ก ๆ
๑. แนวคิดการประกันคุณภาพในยุคเดิม
๑.๒ มีการตรวจสอบรวบรวมข้อมูล โดยผู้บริหารการพยาบาลนิเทศงาน เช่น การให้ยาผิด
๑.๓ รายงานผลการตรวจสอบ เมื่อมีเหตุการณ์ที่ทำให้เกิดปัญหาและมีการประชุมเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาต่อไป
๑.๑ พัฒนามาตรฐาน โดยกำหนดนโยบายและวิธีปฏิบัติขึ้นในหน่วยงานที่รับผิดชอบหรือเรียกว่า nursing procedure เพื่อให้พยาบาลปฏิบัติการพยาบาลที่เหมือนกัน
รูปแบบการประกันคุณภาพการพยาบาล
รูปแบบที่ ๒. การประกันคุณภาพการพยาบาลขององค์การอนามัยโลก (๑๙๙๕)
รูปแบบที่ ๑. การประกันคุณภาพของโรแลนด์
รูปแบบที่ ๓การประกันคุณภาพการพยาบาลของสมาคมพยาบาลอเมริกัน (ANA)
รูปแบบที่ ๔ การประกันคุณภาพการพยาบาลของคณะกรรมการร่วมเพื่อการรับรององค์การบริการสุขภาพ(JCAHO)
ระบบการประกันคุณภาพ
๑. การประกันคุณภาพภายใน(Internal quality assurance) ได้แก่ การควบคุมคุณภาพ การตรวจสอบคุณภาพและการประเมินคุณภาพ
๒.การประกันคุณภาพภายนอก (External quality assurance) การตรวจสอบคุณภาพที่ผ่านกระบวนการประกันคุณภาพภายใน การประเมินคุณภาพ และการให้การรับรอง
องค์ประกอบของระบบการประกันคุณภาพการพยาบาล
๒) การตรวจสอบคุณภาพการพยาบาล(Nursing Audit)
๓) การพัฒนาคุณภาพหรือการปรับปรุงคุณภาพ(Quality improvement)
๑) การกำหนดมาตรฐานการพยาบาล(Nursing standard)
แนวทางการกำหนดมาตรฐานการพยาบาล
๒.กำหนดให้สอดคล้องกันทั้งปรัชญา มาตรฐานและวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน
๓.การกำหนดมาตรฐานการพยาบาลในลักษณะกระบวนการ ผู้กำหนดต้องมีความรู้ ความ สามารถในการวิเคราะห์ปัญหาผู้ป่วยและความต้องการผู้ป่วยอย่างถูกต้องและเที่ยงตรง
๑.กำหนดขอบเขตและวัตถุประสงค์ของความต้องการ ที่จะประกันคุณภาพหรือควบคุมการพยาบาลให้ชัดเจนก่อนกำหนดมาตรฐานการพยาบาล
มาตรฐานการพยาบาล(Nursing standard)
มาตรฐานคุณภาพบริการสุขภาพ
๒.มาตรฐานระดับผู้เชี่ยวชาญ(Empirical standards)
๑.มาตรฐานระดับสากล(Normative standards)
ระดับของมาตรฐานการพยาบาลตามสมาคมพยาบาลเมริกา
๑. มาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาล(Standards of nursing practice)
๒. มาตรฐานการดูแล(Standard of care)
๓. มาตรฐานการปฏิบัติตามวิชาชีพ(Standard of professional performance)
ประเภทของมาตรฐานการพยาบาล
๒. มาตรฐานเชิงกระบวนการ(Process standard)
๓. มาตรฐานเชิงผลลัพธ์(Outcome standard)
๑. มาตรฐานเชิงโครงสร้าง(Structure standard)
๔.การบริหารความเสี่ยง(RM)
วัตถุประสงค์ของการบริหารความเสี่ยง
๑. เพื่อให้เกิดการรับรู้ ตระหนัก เข้าใจและหาวิธีการจัดการที่เหมาะสม
๒. เพื่อสร้างกรอบแนวทางในการดำเนินงานเพื่อให้บริหารจัดการความไม่แน่นอนที่จะเกิดขึ้นอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ
๓. เพื่อเพิ่มคุณค่าให้ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับองค์กร
๔. เพื่อให้มีระบบการติดตามผลการดำเนินการบริหารความเสี่ยงและเฝ้าระวังความเสี่ยงใหม่
ประโยชน์ของการบริหารความเสี่ยง
๓. ได้ปรับปรุงระบบการสื่อสารและการแบ่งปันความรู้ในองค์กร
๔. มีระบบรายงานการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมทั้งภายในองค์กรและการนำเสนอสู่ภายนอก
๒. ได้ปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงานทั้งภายในองค์กรและกับภายนอกองค์กร
๕. มีการจัดสรรทรัพยากรไปบริหารความเสี่ยงในจุดที่ถูกต้อง
๑. ได้ปรับปรุงกระบวนการตัดสินใจ
กระบวนการบริหารความเสี่ยง ประกอบด้วย ๕ ขั้นตอน
๓. การวิเคราะห์ความเสี่ยง
๔. การจัดลําดับความเสี่ยง(Risk profile)
๒. การประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยง
๕. การติดตามและการประเมินผล(Monitoring & Evaluation)
๑. การค้นหาความเสี่ยง(Risk indentification)