Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของหัวใจและโครงสร้าง, ความผิดปกติของหลอดเลือดและการไหลเวียนเลือ…
ความผิดปกติของหัวใจและโครงสร้าง
โรคเกี่ยวกับหัวใจ
ภาวะหัวใจวาย
สาเหตุ
โรคเกี่ยวกับกล้ามเนื้อหัวใจ
หัวใจเต้นผิดปกติ
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของลิ้นหัวใจ
ค.ผิดปกติของหัวใจ
โรคร่วมเรื้อรังอื่นๆ
สารพิษต่างๆ
ค.ผิดปกติของหัวใจห้องล่างซ้าย
โรคเกี่ยวกับปอด
หัวใจทำงานหนักเกินไปกล้ามเนื้อหัวใจมีการทำหน้าที่ผิดไป
หยุดหายใจขณะหลับ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
อาการ
ค.ทนต่อกิจกรรมลดลง
หายใจเหนื่อยกลางคืน
บวมจากค.ดันเลือดส่วนปลายเพิ่มขึ้น
ปัสสาวะน้อยลง
ซีด เขียวคล้ำ
การตรวจร่างกาย
ท้องบวม
หลอดเลือดที่คอโป่ง
ฟังปอดพบCrepitation
อาการบวมที่ส่วนต่ำของร่างกาย
เสียงหัวใจเต้นผิดปกติ
หัวใจห้องขวาวาย
Pulse Irregular
พบตำแหน่งPMIเปลี่ยนไป
เคาะพบตับโต
คลำพบHeaving และ Thrill
การพยาบาลผู้ป่วยหัวใจวาย
การปรับพฤติกรรม
การปรับพฤคิกรรม
การบำบัดด้วยยาขนยายหลอดเลือดแดง
การบำบดด้วยเครื่องมือ
ให้ยาขยายหลอดเลือด
ดูแลให้ยา
การให้ออกซิเจน
เพิ่มค.สามารถในการบีบตัว
ลดการทำงานของหัวใจ
หัตการเกี่ยวกับหัวใจ
การสวนหัวใจ
หลอดเลือดโป่งพอง
การพยาบาล
หลีกเลี่ยงการเบ่งถ่าย
ดูแลก่อนผ่าตัดและหลังผ่าตัด
งดบุหรี่
สังเกตุภาวะแทรกซ้อน
ควบคุมความดันโลหิต
ภาวะหลอดเลือดตีบแข็ง
สาเหตุ
โรคหลอดเลือดแดงแข็ง
โรคค.ดันโลหิตสูง
โรคหัวใจจากสาเหตุอื่นๆ
โรคออโตอิมมูน
การติดเชื้อต่างๆ
ผลข้างเคียงจากยาลดน้ำหนัก
อายุ
โรคต่างๆ
สาเหตุ
โรคออโตอิมมูน
ผลข้างเคียงจากยาลดน้ำหนัก
โรคหลอดเลือดแดงแข็ง
โรคค.ดันโลหิตสูง
โรคหัวใจจากสาเหตุอื่นๆ
การติดเชื้อต่างๆ
โรคต่างๆ
อายุ
โรคเกี่ยวดับกล้ามเนื้อหัวใจ
สาเหตุ
สารพิษ
ได้รับรังสี
การได้รับบาดเจ็บ
สารเคมี
ปฏิกิริยาออโตอิมมูน
ติดเชื้อ
อาการ
ฟังหัวใจได้ยินเสียงrub
หัวใจเต้นเร็ว
หนาวสั่น
ใจสั่น
เจ็บหน้าอก
หายใจลำบาก
ไข้
อ่อนล้า
การพยาบาล
เตรียมให้การพยาบาลก่อนหลังการทำหัตถการ
ดูแลระบบไหลเวียน
ประเมินค.ผิดปกติระบบไหลเวียน
ให้น้ำเกลือ
ดูแลให้ยากระตุ้นหัวใจ
ติดตามวัดค.ดัน
ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
อาการ
เจ็บหน้าอก หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ในระยะยาว จะมีอาการแทรกซ้อน
อาการเหมือนไข้หวัดใหญ่
การพยาบาล
การให้ยารักษาภาวะกล้ามเนื้อหัวใจทำงานลดลง
การรักษาโดยไม่ใช้ยา
การให้ยาคุ้มกีันหรือยาต้านการอักเสบ
การผ่าตัด
ช่วยเหลือการทำงานของหัวใจ
เยื่อบุหัวใจอักเสบ
อาการ
ในรายไม่รุนแรงไม่มีอาการแสดง
การรักษา/การพยาบาล
ติดตามการทำงานจของหัวใจ
ดูแลช่วยเหลือกิจกรรม
ให้ยาต้านการติดเชื้อ
ให้ข้อมูลการปฏิบัติตน
ให้ยาขับปัสสาวะ
ให้ยาเพิ่มการบีบรัดตัวของหัวใจ
Cardiac Pacemaker
สอนผู้ป่วยเกี่ยวกับการดูแลตนเองที่บ้าน
พกบัตรประจำตัว
แจ้งแพทย์และทะนตแพทย์ทุกครั้งที่เข้ารับการรักษา
ป้องกันการกระทบกระแทกบริเวณที่ฝั่งเครื่องไว้
สามมารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ขณะใส่เครื่อง
ให้ระวังอันตรายจากกระแสไฟฟ้าอื่นๆ
หากท่านใช้โทรศัพท์มือถือรุ่นDigitalควรถือด้านที่ไม่ได้ใส่เครื่อง
สามารถใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าได้ปกติ
ให้สังเกตุอาการที่บ่งบอกว่าเครื่อวงำงานผิดปกติ
การจับชีพจรด้วยตนเอง
ความผิดปกติของหลอดเลือดและการไหลเวียนเลือด
ความดันโลหิตสูง
ประเภท
ไม่ทราบสาเหตุ
ทราบสาเหตุ
ระดับ
ระดับความดันโลหิตสูงขั้นวิกฤต
ระดับความดันโลหิตสู.
ระดับความดันโลหิตปกติ 120/80 mmHg
สาเหตุ
ความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์
Renovascular disease
ความผิดปกติของหลอดเลือด
Pheochromocytoma
ภาวะเครียดเฉียบพลัน
อาหารที่มีสารธัยรามีน
ได้รับยาบางชนิด
ค.ผิดปกตทางระบบประสาท
โรคของต่อมไร้ท่อ
โรคไต
อาการ
เลือดกำเดาไหล
หายใจลำบากขณะออกแรง
เวียนศรีษะ มึนงง
มีอาการเจ็บหน้าอก
ปวดศีษะ โดยเฉพาะช่วงเช้า
อาการอื่นๆ
สูงเล็กน้อยถึงปานกลางมักไม่มีอาการ
การรักษา/การพยาบาล
การรักษาโดยไม่ใช้ยา
การออกกำลังกาย
การลดความเครียด
การลดน้ำหนัก
งดแอลกอฮอลล์และบุหรี่
การลดเกลือ
การรักษาโดยใช้ยา
ยาขับปัสสาวะกลุ่ม Loop diuretic
ยาขับปัสสาวะกลุ่ม Potassium sparing diuretic
ไธอะไซด์
ยาต้านอะดรีเนอจิก
ยาต้านแคลเซียมเข้าเซลล์
ยาต้านระบบเรนินแอนจิโอเทนซิน
Stroke
ประเภท
Ischemia stroke
Thrombosis
Emboli
Hemorrhagic stroke
Intracerebral hemorrhage
Subarachnoid hemorrhage
DVT
ตรวจร่างกาย
เมื่อจับปลายเท้ากระดกเข้าหาตัว
อาจตรวจพบหลอดเลือดดำโป่ง
บวมเท้าที่เป็นข้างเดียว
ไข้ต่ำๆ
หลอดเลือดแดงอักเสบเฉียบพลัน
TAO
การพยาบาล
ให้ยาขยายหลอดเลือด
ให้ยาNSIAD
รักษาแผลเรื้อรังที่เท้า
ให้การรักษาโดยการผ่าตัด
งดบุหรี่
PAD
ปัจจัยเสี่ยง
โรคเบาหวาน
โรคอ้วนลงพุง
ความดันโลหิตสูง
ขาดการออกกำลังกาย
ไขมันในเลือดสูง
รับประทานอาหารไม่ถูกต้อง
เพศ
อายุ
สูบบุหรี่
ประวัติการเจ็บป่วยโรคหลอดเลือด
การรักษา/การพยาบาล
การรักษาด้วยยา
การผ่าตัด
การดูแลรักษาแบบประคับประคอง
หลอดเลือดขอด
อาการ
ถ้าเป็นรุนแรงจะมีหลอดเลือดอุดตัน
อาจมีแผลที่เท้า
มีอาการเมื่อยล้าขามากผิดปกติ
เสี่ยงต่อการบาดเจ็บ
ปวดตื้อๆบริเวณขา
การรักษา/การพยาบาล
รักษาแบบประคับประคอง
การผ่าตัดนำหลอดเลือดที่ขอดออก
โรคเกี่ยวกับลิ้นหัวใจตีบ/รั่ว
โรคเกี่ยวกับลิ้นหัวใจที่พบบ่อย
ลิ้นไมตรัลรั่ว
ระยะที่มีอาการเล็กน้อยถึงปานกลาง
ระยะรุนแรง
ระยะไม่มีอาการ
ลิ้นเอออร์ต้าตีบ
ระยะสุดท้าย
ลิ้นเอออร์ติกรั่วอย่างเรื้อรัง
ระยะแรกดูแลตามอาการ
เวนตรเคิลซ้ายมีการปรับตัว
ลิ้นไมตรัลตีบ
การผ่าตัด
การปรับพฤติกรรม
การให้ยา
การผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ
ข้อบ่งชี้
ลิ้นหัวใจเทียมที่ทำจากสิ่งสังเคราะห์
ลิ้นหัวใจเทียมที่ทำจากเนื้อเยื่อคน
การพยาบาล
เพศสัมพันธุ์
การตั้งครรภ์
สอนให้สังเกตอาการที่มาพบแพทย์
ป้องกันการติดเชื้อ
ลดโซเดียม
การรับประทานยา
ทำงานได้หลังผ่าตัด 6 สัปดาห์
การออกกำลังกาย
การพักผ่อน