Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติหลอดเลือดและการไหลเวียนเลือดThromboangitis Obliteranns, TAO,…
ความผิดปกติหลอดเลือดและการไหลเวียนเลือดThromboangitis Obliteranns, TAO, Buerger’s disease
ความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตเกิดจาก จำนวนเลือดที่ออกจากหัวใจ (Cardiac output) และความต้านทานหลอดเลือด (Peripheral vessel resistant)
-
-
-
-
-
-
-
การประเมินผู้ป่วย
-
-
-
-
5.การตรวจพิเศษ EKG, Film chest
-
-
Thrombopheblitis
สาเหตุ Thrombopheblitis หมายถึง การอักเสบของผนังหลอดเลือดดำร่วมกับการอุดตันโดยลิ่มเลือดที่หลอดเลือดดำ
ปัจจัยเสี่ยงได้แก่ อ้วน ตั้งครรภ์ ความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด ภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด ที่ทำให้เลือดมีการไหลชะลอตัว เกิดลิ่มเลือดสะสมที่ผนังหลอดเลือดทำให้เกิดการอักเสบของผนังหลอดเลือดและเนื้อเยื่อบริเวณโดยรอบ อันตรายคือ ลิ่มเลือดลอยไปอุดตันหลอดเลือดที่อวัยวะสำคัญ
อาการ ปวดบริเวณที่เกิดหลอดเลือดอักเสบ บวม แดง มีการขาดเลือดของอวัยวะที่มีการอุดตัน เช่น อวัยวะส่วนปลายบวม ซีด ปวดน่องเวลากระดกนิ้ว (Homann’s sign) หลอดเลือดดำตื้น ๆ
การรักษา
ให้ยาขยายหลอดเลือด และยาละลายลิ่มเลือด เช่น Heparine, coumarin
-
-
หลอดเลือดดำและแดงอักเสบ
-
-
อาการ ในระยะแรก มีอาการปวดบริเวณขา และหลังเท้ารุนแรง อาจมีอาการปวดน่องร่วมด้วยเวลาเดิน เดินไม่ได้ไกล เป็นตะคริวบ่อยที่เท้าและน่อง หลังเดินหรือออกกำลังกาย อาการหายไปเมื่อพัก อาการเหล่านี้เรียกว่า Intermittent Claudication
การวินิจฉัย
-
การตรวจ ABI หรือ Droppler ultrasound, Artheriograms เพื่อวินิจฉัย ภาวะขาดเลือดที่หลอดเลือดส่วนปลาย
-
หลอดเลือดแดงส่วนปลายตีบ
-
-
อาการ คล้ายหลอดเลือดแดงอักเสบ คือ จะมีอาการปวดรุนแรงบริเวณที่หลอดเลือดแดงไปเลี้ยง เช่น บริเวณ แขน ขา น่อง
-
หลอดเลือดดำตีบ
พยาธิสภาพ เส้นหลอดเลือดดำจะนำเลือดที่ใช้แล้วกลับสู่หัวใจ โดยอาศัยการบีบตัวของกล้ามเนื้อ ร่วมกับลิ้นในหลอดเลือดดำ หลอดเลือดดำที่ขามี 2 ชนิดคือหลอดเลือดดำที่ผิว superficial veinที่สามารถเห็นได้ด้วยตา ซึ่งจะนำเลือดจากผิวไปสู่หลอดเลือดดำส่วนลึก deep veinซึ่งจะอยู่ในกล้ามเนื้อ หลอดเลือดดำลึกก็จะนำเลือดไปยังหลอดเลือดดำใหญ่ในท้อง inferior venacava
-
-
อาการ อาการที่สำคัญคืออาการบวมที่เท้าเนื่องจากการไหลกลับของเลือดไม่ดีมักจะบวมข้างเดียว บางรายอาจจะเห็นเส้นเลือดโป่งพอง อาจจะมีอาการปวดกล้ามเนื้อหรือเป็นตะคริวพบได้ครึ่งหนึ่งของผู้ป่วย โดยเฉพาะเวลากระดกข้อเท้าจะทำให้ปวดมากขึ้น เมื่อกดบริเวณน่องก็จะทำให้ปวด
-
การตรวจพิเศษ
1.venography คือการฉีดสีเข้าไปในเส้นเลือดที่สงสัยเพื่อดูว่ามีลิ่มเลือดอุดหรือไม่ แต่ให้ผลการตรวจไม่แม่นยำ และอาจจะเกิดอาการแพ้จึงไม่นิยม
-
-
การรักษา/พยาบาล
หากวินิจฉัยว่าเป็น DVT จะต้องรีบให้การรักษาโดยรับตัวไวในโรงพยาบาลแพทย์จะเลือกให้ heparin หรือ low molecular weight heparin หลังจากนั้นต้องให้ warfarin เพื่อป้องกันลิ่มเลือดอีก 3 เดือน
-
-
โรคหลอดเลือดดำขอด
พยาธิสภาพ เป็นความผิดปกติของหลอดเลือดดำให้ผิวหนัง (Superficial vein) เกิดจากลิ้นกั้นในเลือดเลือดเสียหน้าที ทำให้การไหลเวียนเลือดผิดปกติ ไม่สามารถไล่เลือดให้ไหลกลับสู่หัวใจได้หมด จึงเกิดการคั่งของเลือดในหลอดเลือดดำ ทำให้หลอดเลือดดำขยายตัวกว้างใหญ่ขึ้น ยาวขึ้นและหงิกงอ คดเคี้ยว พบได้บ่อยบริเวณขา น่อง ข้อเท้า และหลังเท้า
สาเหตุ การเกิดยังไม่ทราบแน่ชัด แต่มีปัจจัยเสริมที่ทำให้เกิดหลอดเลือดขอดเพิ่มขึ้น คือ การยืนนานๆ การตั้งครรภ์ ความร้อน การถูกผูกรัด เช่น การใส่ถุงน่องที่คับเกินไป เป็นต้น กรรมพันธุ์ เชื้อชาติ
-
-
-
-
-
-
-
-
-