Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่5 5.6 โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
บทที่5 5.6 โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์
ไวรัสตับอักเสบบี (Hepatitis B)
การวิเคราะห์ผลการตรวจ
HBeAg: บอกถึง ความสามารถในการแบ่งตัวของไวรัสตับอักเสบบี (Viral replication)
HBcAg: เป็นภูมิคุ้มกันที่เกิดจากการตอบสนองของร่างกายต่อไวรัสตับอักเสบบี บอกถึงการเคยติดเชื้อไวรัสบี
HBsAg: บอกถึง การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี
อาการและอาการแสดง
ระยะฟักตัวของโรคตับอักเสบบีประมาณ 60-150 วัน
มีไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นใส้ อาเจียน
ปวดท้อง ปัสสาวะสีเข้ม อุจจาระสีซีด ปวดข้อ
ในรายที่มีอาการรุนแรง อาจมีตัวเหลืองตาเหลือง
ผลกระทบ
การตกเลือดก่อนคลอด
การคลอดก่อนกําหนด
เบาหวานในระหว่างตั้งครรภ์
ทารกนํ้ำหนักตัวน้อย
บทบาทพยาบาลผดุงครรภ์
ระยะคลอด
Universal Precaution
ติดตามความก้าวหน้า ไม่กระตุ้นคลอด
ทารก: suction ให้เร็ว หมด ทำความสะอาด
ระยะตั้งครรภ์
อาการ: ไข้ เหนื่อย อ่อนเพลีย คลื่นไส้อาเจียน ตัวตาเหลือง
ส่งตรวจเลือด
ซักประวัติ การได้รับวัคซีน บุคคลในครอบครัว
ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ระยะหลังคลอด
BF
คุมกำเนิด ตรวจสุขภาพประจำปี
ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
หัดเยอรมัน (Rubella, German measles)
อาการและอาการแสดง
ระยะออกผื่น
จะมีผื่นขึ้นหลังมีไข้ 3-4 วัน จะมีผื่นแดงเล็กๆ (erythematous maculopapular)
ตุ่มนูน ผื่นแดงหรือสีชมพูขึ้นที่ใบหน้าก่อนจะลามลงมาตามผิวหนังส่วนอื่น ๆหายไปภายใน 3 วัน
ระยะก่อนออกผื่น
ไข้ตํ่าๆ
Koplik's spot จุดสีขาวเหลืองขนาดเล็กคล้ายเม็ดงาอยู่ที่กระพุ้งแก้ม
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะทารกพิการแต่กำเนิดจากการติดเชื้อหัดเยอรมัน
(Congenital rubella syndrome:CRS) หูหนวก หัวใจพิการ ต้อกระจก
การรักษาพยาบาล
-แนะนำพักผ่อนให้เพียงพอ
ในระยะ 3 เดือนแรก แพทย์จะแนะนำให้ยุติการตั้งครรภ์
“Therapeutic abortion”ในรายที่ไม่ต้องการยุติการตั้งครรภ์ แพทย์อาจพิจารณาฉีด Immunoglobulin ให้แก่ผู้ป่วย
-แนะนำดื่มน้ำให้เพียงพอ จิบบ่อย ๆ
-ถ้ามีไข้แนะนำรับประทานยา paracetamal ตามแพทย์สั่ง
Rubella Virus
การติดเชื้อสามารถเกิดขึ้นโดยการสัมผัสโดยตรงต่อสารคัดหลั่งจากโพรงจมูกและปากของผู้ติดเชื้อ
แพร่เข้ากระแสเลือดในรก
ระยะการแพร่กระจายเชื้อคือ 7วันก่อนผื4นขึ้นจนถึง 7วันหลังผื4นขึ้น
ฟักตัวประมาณ 14-21 วันหลังสัมผัสโรค
ซิฟิลิส (Syphilis)
อาการและอาการแสดง
1.ซิฟิลิสปฐมภูมิ(primary syphilis) หลังจากได้รับเชื้อ 10-90 วัน เป็นระยะที่มีแผลริมแข็งมีตุ่มแดงที่อวัยวะเพศ ริมฝีปาก เป็นลักษณะขอบนูนไม่เจ็บ ต่อมน้ำเหลืองโตกดไม่เจ็บ จะเป็นแผล1-5 สัปดาห์จะหายไปเอง
2.ซิฟิลิสทุติยภูมิ(secondary syphilis) อาการสำคัญคือผื่นในช่วง 2-3 สัปดาห์หลังจากแผลริมแข็งหายแล้ว ผื่นที่เกิดขึ้นจะมีลักษณะสีแดงน้ำตาลไม่คัน พบทั่วตัวผ่ามือผ่าเท้าอาจมีไข้หรือปวดตามข้อจากการเกิดข้ออักเสบ ต่อน้ำเหลืองโต ผมร่วง
3.ซิฟิลิสระยะแฝง (latent syphilis) หลังจากได้รับเชื้อ 2-30 ปี เป็นช่วงที่ไม่มีอาการ
4.ซิฟิลิสระยะตติยภูมิ(tertiary or late syphilis) หลังจากได้รับเชื้อ 2-30 ปี เชื้อจะทำลายอวัยวะภายในเช่น หัวใจและหลอดเลือดสมอง ตาบอด
ภาวะแทรกซ้อน
ทารกตาบอด
การคลอดก่อนกำหนด
ทารกในครรภ์โตช้า
เสี่ยงต่อการแท้งหลังอายุครรภ์ 4 เดือน
ทารกบวมน้ำ
Congenital syphilis
ระยะแรก พบตั้งแต่คลอด-1ปี น้ำหนักตัวน้อย ตับม้ามโต ต่อมน้ำเหลืองโต ผิวหนังฝ่ามือฝ่าเท้าพองและลอก น้ำมูกมาก เสียงแหลม “wimberger ’s sign” ปลายส่วนบนกระดูก tibia กร่อนทั้งสองข้าง
ระยะหลัง พบอายุมากกว่า 2 ปี แก้วตาอักเสบ ฟันหน้ามีรอยแหว่งเว้าคล้ายจอบ หูหนวก จมูกยุบ หน้าผากนูน กระดูกขาโค้งงอผิดรูป
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ควรอธิบายให้เห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองซิฟิลิสขณะตั้งครรภ์
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
แนะนำการรักษาความสะอาดอวัยวะเพศ และการป้องกันโรคโดยการสวมถุงยางอนามัย
แนะนำให้พาสามีมาตรวจและรักษาด้วย เพื่อป้องกันการติดเชื้อซ้ำ
ให้การปรึกษาและดูแลทางด้านจิตใจ
ระยะคลอด
Universal precaution
ดูดเมือกออกจากปากและจมูกโดยเร็วและเจาะเลือดจากสายสะดือทารกเพื่อส่งตรวจการติดเชื้อซิฟิลิส
ระยะหลังคลอด
สามารถให้นมได้ตามปกติ ล้างมือก่อนและหลังสัมผัสทารก
โรคเริมที่อวัยวะเพศ
(Genital herpes simplex infection)
อาการและอาการแสดง
Vesicles ที่ผิวหนังของอวัยวะเพศ
อาการปวดแสบปวดร้อนมาก
ไข้ ปวดเมื4อยตัว
ต่อมน้ำเหลืองโต และอ่อนเพลีย
ภาวะแทรกซ้อน
ทารกที่ติดเชื้อในร่างกาย อาจมีตุ่มน้ำใสๆตามร่างกายตาอักเสบ มีไข้หนาวสั่น ซึม ไม่ดูดนม ตับม้ามโต มีการอักเสบของปาก
การรักษา
การให้ยา antiviral drug เช่น acyclovir, valacyclovir และ famciclovir ไม่มีผลต่อการตั้งครรภ์
3.กรณีที่มี Herpes lesion ควรได้รับการผ่าตัดคลอดทาง
หน้าท้องเพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้ทารกได้รับเชื้อจากการสัมผัสสิ่งคัดหลั่งในช่องคลอด
ควรให้ยาปฏิชีวนะและดูแลแผลให้สะอาดในรายที่ติดเชื้อ แผลไม่สะอาด
การพยาบาล
ระยะคลอด
เน้นการใช้หลัก Universal precaution
และหลีกเลี4ยงการทําหัตถการ
ระยะหลังคลอด
สามารถให้นมได้ตามปกติ ล้างมือก่อน
และหลังสัมผัสทารก
ระยะตั้งครรภ์
ลดความไม่สุขสบายจากการปวดแสบปวดร้อน
2.แนะนำการดูแลแผลให้แห้งแลสะอาดอยู่เสมอ
3.ล้างแผลด้วยน้ำเกลือ0.9% หรือสารละลาย zinc sulphate 0.25-1% วันละ 2-3 ครั้ง แนะนำเกี่ยวกับการนั่งแช่ก้นด้วยน้ำอุ่น
4.ดูแลการให้ยาต้านไวรัสตามแผนการรักษา
5.หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ขณะมีแผล ควรใช้ถุงยางอนามัย
หููดหงอนไก่ (Condyloma accuminata and pregnancy)
อาการและอาการแสดง
คล้ายดอกกระหล่ำ
ตกขาวมีกลิ่นเหม็นและคัน
หูดขึ้นรอบ ๆ ทวารหนักก้อนสีชมพู นุ่ม ผิวขรุขระ มีสะเก็ด
การรักษา
จี้ด้วย trichloroacetic acid
จี้ไฟฟ้า แสงเลเซอร์
การคลอดสามารถให้คลอดทางช่องคลอดได้ ยกเว้นหูดมีขนาดใหญ่ซึ่งทำให้ขัดขวางช่องทางคลอด
การพยาบาล
2.แนะนำการรักษาความสะอาดของอวัยวะเพศ
หลีกเลี่ยงการอับชื้นบริเวณอวัยวะสืบพันธ์
3.เน้นการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ การออกกำลังกายที่พอเหมาะ
1.ดูแลให้ได้รับการรักษาตามแผนการรักษา เช่น จี้ด้วย trichloroacetic acid หรือ lasersurgery
4.การลดภาวะเครียด และสังเกตอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อซ้ำ
โรคเอดส์ (Acquired immune defiency syndrome)
อาการและอาการแสดง
กลุ่มที่ 1 เป็นกลุ่มที่ไม่มีอาการทางคลินิก มีเพียงการตรวจ Elisa ให้ผลบวก
กลุ่มที่ 2 เป็นกลุ่มอาการคล้ายเอดส์ คือ ไข้ ปวดเมื่อยตามตัว อ่อนเพลีย ผื่นตามตัว ปวดศีรษะ เจ็บคอ ผล CD4 ต่ำกว่า 500-200 cm3
กลุ่มที่ 3 เป็นกลุ่มอาการที่มีอาการสัมพันธ์กับเอดส์ คือ มีไข้สูงฉับพลัน ไข้ต่ำ ๆ นานกว่า 2-3 เดือนปวดศีรษะ เจ็บคอ คลื่นไส้อาเจียน ต่อมน้ำเหลืองโตทั่วไป ท้องเดินเรื้อรัง น้ำหนักลด อาจตรวจพบเยื่อหุ้มสมองอักเสบชนิดไร้เชื้อร่วมด้วย
การติดต่อ
1.การมีเพศสัมพันธ์ที่เสี่ยงมากที่สุดคือ การร่วมเพศทางทวารหนัก ในปัจจุบันพบว่าการติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ทำให้เอดส์แพร่เชื้อมากที่สุด
2.จากมารดาสู่ทารก (vertical transmission) พบว่าในหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอดส์และไม่ได้รับการรักษา ทารกในครรภ์จะมีโอกาสติดเชื้อ 15-25%
3.ทางกระแสเลือด จากการรับเลือดหรือส่วนประกอบของเลือดที่มีเชื้อเอดส์ การใช้เข็มฉีดยาร่วมกันในผู้ติดยาเสพติด (IV drug users)
การรักษา
การให้ยาต้านไวรัสระหว่างเจ็บครรภ์คลอด
ให้เพิ่ม AZT 300 mg ทุก 3 ชม. หรือ AZT 600 mg ครั้งเดียว ไม่ว่าจะใช้ยาสูตรใด
หากคลอดโดยการผ่าตัดให้กินยาก่อนเริ่มผ่าตัดอย่างน้อย 4 ชม.
ในรายที่ viral load น้อยกว่า 50 copies / ml ไม่ต้องให้ยาระหว่างเจ็บครรภ์คลอด
หลีกเลี่ยงการให้ยา Methergine เนื่องจากจะทำให้หญิงที่กินยา LPV/r หรือ EFV อยู่เกิด severe vasoconstriction ได้
หลังคลอด
CD4 < 500 cells / mm 3
คู่มีผลเลือด ลบ หรือ ไม่ทราบผลเลือดคู่
มีการติดเชื้อร่วม เช่น วัณโรค ไวรัสตับอักเสบ บี ไวรัสตับอักเสบ ซี
ทารกแรกเกิด
-AZT ขนาด 4 mg/kg/dose ทุก 12 ชม. ให้นานต่อเนื่อง 4 สัปดาห์
การพยาบาล
ระยะคลอด
หลีกเลี่ยงการทำให้ถุงน้ำแตกหรือรั่วทำคลอดโดยยึดหลัก Universal precaution
ระยะหลังคลอด
ให้อยู่ในห้องแยก และแนะนำการปฏิบัติตัวเมื่อกลับ
บ้านเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อในครอบครัวและผู้อื่น
งดให้นมบุตร เพราะทารกอาจติดเชื้อจากแม่ทางน้ำนมได้
เน้นให้มาตรวจหลังคลอดตามกำหนด และแนะนำวิธีการคุมกำเนิดที่มีประสิทธิภาพ เช่น การทำหมัน
ในทารกหลังคลอด ให้ NPV 2 มก./กก. ทันที และให้ AZT 2 มก./กก./วัน และติดตามตรวจหาการติดเชื้อในทารกหลังคลอด 12-18 เดือน ถ้าไม่พบ HIV-antibody จึงจะถือว่าทารกไม่ติดเชื้อ ถ้ายังตรวจพบ antibody แสดงว่าทารกติดเชื้อแล้ว
ระยะการตั้งครรภ์
ให้ความเห็นใจและให้กำลังใจผู้ป่วย
ตรวจหาระดับCD4 ถ้าต่ำกว่า 400 เซลล์ต่อลูกบาศก์มิลลิเมตร อาจพิจารณาให้prophylaxis pneumocystis carinii pneumonia (PCP)
ให้ AZT โดยให้ AZT 300 มก. รับประทานวันละ 2 ครั้ง ตั้งแต่อายุครรภ์ 28 สัปดาห์จนกระทั่งคลอด ในระหว่างเจ็บครรภ์คลอดเริ่มให้ AZT 300 มก. ทุก 3 ชั่วโมง ไปจนกระทั่งคลอดก็ให้หยุดยา
.การติดเชื้อไวรัสซิกกา (Zika fever)
อาการและอาการแสดง
ปวดข้อ ปวดในกระบอกตาเยื่อบุตาอักเสบ
แต่หากมีการติดเชื้อในหญิงขณะตั้งครรภ์ทารกที่คลอดออกมาจะมีศีรษะเล็กผิดปกติ
ไข้ซิกามีระยะฟักตัว 2-7 วัน มีอาการไข้ ปวดศีรษะ ออกผื่นที่ลำตัว และแขนขา
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะศีรษะเล็กแต่กําเนิดของทารกในครรภ์ติดตามอัลตร้าซาวการเจริญเติบโตของทารกทุก 4 wks.การวัดรอบศีรษะในทารกแรกเกิด ครั้ง ครั้งแรกเมื4อแรกเกิด และครั้งที่เมื่ออายุ24 ชั่วโมง
การป้องกัน
ป้องกันยุงกัดและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุง ยุงลายที่เป็นพาหะมักออกหากินเวลากลางวัน
การรักษา
ดื่มน้ำในปริมาณ2,000-3,000 ลิตรต่อวัน
นอกจากการรักษาประคองไปตามอาการ เช่น การให้ยาพาราเซตามอลเพื่อบรรเทาอาการปวด ลดไข้
ยังไม่ยารักษาโรคไข้ซิกาโดยตรง การรักษาคือการให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
แต่ห้ามรับประทานยาแอสไพรินหรือยากลุ่มลดการอักเสบ (NSAIDs)เนื่องจากยาบางชนิดเป็นอันตรายสำหรับ โรคนี้อาจทำให้เกิดเลือดออกในอวยัวะภายในได้ง่ายขึ้น