Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 การดูแลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล, นางสาวมาติกา…
บทที่ 1
การดูแลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
Family Centered Care / สิทธิเด็ก
บทบาทของครอบครัวต่อเด็กเจ็บป่วย
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเจ็บป่วยมีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงการ พัฒนาการการเจริญเติบโตของเด็กแต่ละวัย
สัมพันธภาพเละความรู้สึกระหว่างเด็กป่วยเละสมาชิกในกรอบครัว
มีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน
การปรับตัวของเด็กป่วยและสมาชิกในครอบครัว
บิดามารดาต้องมีความรู้ความเข้าใจในการเจ็บป่วยของเด็กเกี่ยวกับสาเหตุการ เจ็บป่วยการ ได้รับการดูแลเละการรักษา
การติดต่อกับผู้ให้บริการแก่เด็กและครอบครัว
การดูแลโดยใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
พยาบาลมีส่วนร่วมในการให้ความรู้แก่บิดามารดาเกี่ยวกับการเจริญเติบโตทางด้านร่างกายจิตใจ อารมณ์ สังคมของเด็กรวมทั้งการดูแลสุขภาพการเจ็บป่วยของเด็กเเต่ละวัย
พยาบาลให้การดูแลเด็กและสมาชิกในครอบครัวเกี่ยวกับการป้องกันความผิดปกติ ส่งเสริมการปรับตัวของเด็กกับพี่น้องบิดา มารดาและครอบครัว ส่งเสริมให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี รวมทั้งส่งเสริมให้ เด็กใช้ชีวิตด้วยการใช้อุปกรณ์ในการช่วยเหลือขณะมีการเจ็บป่วยใน ภาวะวิกฤตและระยะเรื้อรังอย่างปกติสุข
บทบาทของพยาบาลในการดูแลครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
ป้องกันภาวะวิกฤตที่อาจเกิดขนึ้ได้ละสง่เสรมิให้เด็กและครอบครวัดูแลการ เจ็บป่วยขั้นต้นได้
มีสัมพันธภาพที่ดีกับผปู้่วยเด็กและสมาชิกในครอบครัว
ประสานและส่งตอ่กบัพยาบาลในชุมชนเกยี่วกับการดูแลเด็กป่วยและสมาชิกในครอบครัว
ส่งเสริมทางด้นจิตสงัคมให้เด็กและสมาชิกครอบครัวมีการปรับตัวต่อภาวะวิกฤตได้
มีความรู้เกี่ยวกับการเจริญเติบโตและพฒันาการปกติ รวมทั้งระบบของ ครอบครัว มีการวางแผนการพยาบาล โดยใช้กระบวนการพยาบาลมาใช้
สิทธิเด็ก
สิทธิขั้นพื้นฐานตามอนุสัญญา
3.สิทธิในการได้รบัการคมุ้ครอง (Right of Protection)
4.สิทธิในการมสี่วนรว่ม (Right of Participation)
2.สิทธิในการพัฒนา (Right of Development)
1.สิทธิการมีชีวิตอยรู่อด (Right of Survival)
ความหมาย
บุคคลซึ่งมีอายุต่ำกว่า 18 ปีบริบรูณ์ แต่ไม่รวมถึงผู้ที่บรรลุนิติภาวะด้วยการสมรส มีอำนาจอันชอบธรรมที่จะกระทำการใดๆได้อย่างอิสระ โดยได้รับการรับรองคุ้มครองจากกฎหมาย
ระยะเฉียบพลันและระยะวิกฤติ
Pain ภาวะความปวด
แต่ละวัย
วัยก่อนเรียน
ร้อง สามารถบอก ตำแหน่งที่เจ็บปวดได้
อยู่ในระยะเริ่มต้นของพัฒนาการถดถอยเละแยกตัว
อาจเชื่อว่าภาวะเจ็บปวดเป็นการลงโทษ เมื่อมีพฤติกรรมไม่ดี
อางกล้าหรือปฏิสธที่บอกถึงภาวะเจ็บปวด
อาจตี หรือเตะผู้ดูแล
วัยเรียน
ส่วนของลำตัวแข็งเกร็ง แยกตัว
สามารถบอกความเจ็บปวด ได้
เกรงว่าร่างกายจะบาดเจ็บ อาจต่อรองหลีกเลี่ยงจากสถานการณ์การเจ็บปวดได้
มีความคิดเกี่ยวกับการตาย และการมีชีวิตอยู่
วัยหัดเดิน
กระสับกระส่าย ถูบริเวณที่ปวด
ร้องเสียงดังเละพูดว่า "เจ็บ ๆ ๆ"
พยายามทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพื่อให้ลดการเจ็บปวดลง
วัยรุ่น
กล้ามเนื้อแข็งเกร็งมากขึ้น การทำกิจกรรมลดลง แยกตัว
สามารถบอกตำแหน่งที่เจ็บปวด และระดับความรุนแรงได้
เข้าใจสาเหตุและผลของการเจ็บปวด
ภาวะเจ็บปวดมีผลกระทบต่อร่างกาย อารมณ์และจิตใจ
วัยทารก
มีการตอบสนองต่อร่างกายทั้งหมด แขนขา อาจสั่นเกร็ง
แสดงออกทางสีหน้า
กดเจ็บ ร้องเสียงดัง
ความดันโลหิตและ อัตราการเต้นของหัวใจ เพิ่มขึ้น oxygen saturation ลดลง
เครื่องมือใช้ประเมิน
2.FLACC สำหรับเด็ก 1 เดือน - 3 ปีหรือเด็กที่ไม่รู้สึกตัว
CHEOPS * สำหรับอายุ 3 ปี - 6 ปีหรือไม่รู้สึกตัว
1.NIPS สำหรับทารกแรกเกิด - 1 เดือน
FACE scale สำหรับเด็ก 3 - 8 ปีหรือผู้ใหญ่ที่บอกตัวเลขไม่ได้
Numeric rating scale สำหรับเด็กอายุมากกว่าหรือเท่ากับ 8 ปี ผู้ป่วยที่รู้สึกตัวดีหรือบอกตัวเลขความปวดได้
Behavior pain scale สำหรับผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว หรือใส่เครื่องช่วยหายใจ
Stress and coping ความเครียดและการเผชิญกับความเครียด
แต่ละวัย
วัยก่อนเรียน
การยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง และมีจินตนาการ
การอยู่โรงพยาบาลทำให้เด็ก รู้สึกเหมือนถูกทำโทษ สูญเสียการควบคุม ตอบสนองด้วยความรู้สึกผิด และกลัว
วัยเรียน
เด็กมีความเป็นอิสระ กลัวถูกควบคุม กลัวร่างกายพิการ กลัวตาย กลัวทอดทิ้ง สูญเสียการยอมรับจากเพื่อน กิจกรรมในโรงพยาบาลทำให้เด็กสูญเสียการควบคุม เช่น การนอนพักบนเตียง ไม่สามารถเลือกอาหาร ขาดความเป็นส่วนตัว มีผลต่อความรู้สึกมั่นคง เด็กอาจซึมเศร้า กลัว และรู้สึกล้มเหลว
วัยหัดเดิน
การอยู่โรงพยาบาลมีสิ่งแวดล้อมต่างจากบ้าน กิจวัตรประจำเปลี่ยนแปลง หัตถการต่างๆ ที่ทำ ทำให้เด็กสูญเสียความเป็นตัวของตัวเอง ทำให้เด็กสูญเสียการควบคุม
วัยรุ่น
เด็กทุกข์จากความไม่เป็นอิสระ สิ่งที่รบกวนเป็นเอกลักษณแ์ห่งตน การ เจ็บป่วยที่จำกัดร่างกาย และอยู่โรงพยาบาล ทำให้เด็กพึ่งพาและลดความเป็นบุคคล มีผลให้สูญเสียการควบคุม เด็กอาจตอบสนองด้วยการปฏเิสธ ไม่ร่วมมือ
วัยทารก
เมื่ออยู่โรงพยาบาลเด็กสูญเสียความควบคุมจากการที่กิจวัตรประจำวัน เปลี่ยนแปลงถูกกำหนดโดยเจ้าหน้าที่แทน
การตอบสนองของแม่ การ ดูแลต่างจากที่บ้าน อาจ น าไปสู่การสูญเสียการ ควบคุม
การจัดการกบัความเครยีด (Coping)
โดยให้กำลังใจเด็กและพ่อแม่ อธิบายให้ครอบครัวเข้าใจ เกี่ยวกับโรคที่เด็กเป็นอยู่และแนวทางการรักษาของแพทย์ ในขอบเขตที่สามารถบอกได้
เปิดโอกาสให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการดแูลเด็กป่วย สนับสนุนให้เด็กได้เล่นของเล่นที่สนใจตามวัยและไม่เป็นอันตราย
สนับสนุนให้สมาชิกของครอบครัวช่วยเหลือในกิจกรรมการพยาบาล
Separation Anxiety ภาวะวิตกกังวลจากการพลัดพราก
พฤติกรรมและการพยาบาลแต่ละวัย
วัยทารก
อายุแรกเกิด -1ปี
มีข้อจำกัดในการรับรู้ จะมีปฏิกิริยาไม่มากนัก
ร้องกวน จะเกาะติดมารดาตลอดวลา
ทารกที่อายุต่ำกว่า 8 เดือน จะมีปัญหาเนื่องจากกิจวัตรประจำวันของ ทารกมีการเปลี่ยนแปลง
ส่วนทารกที่อายุเกิน 8 เดือนไปแล้ว เริ่มจำหน้าบุคคลได้จะเริ่มมีปัญหาทางด้านจิตใจเกี่ยวกับการแยกจากมากกว่า
แนวทางการพยาบาล
รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับกิจวัตรประจำวันของทารก พฤติกรรมและความต้องการต่างๆ เกี่ยวกับการรับประทานอาหารและนม การนอน การร้องไห้ การขับถ่าย ของเล่นที่ชอบ
เพื่อตอบสนองให้เหมาะสมกับความต้องการของทารกและสอดคล้องกับกฎระเบียบของโรงพยาบาล
ผู้ป่วยวัยทารกควรให้มารดาฝ้าอยู่ในโรงพยาบาล เพื่อส่งเสริมความ ผูกพันของมารดาและบุตร และจะได้รับความร่วมมือจากทารกได้ดีกว่า
วัยหัดเดินหรือวัยเตาะแตะ
อายุ 1 - 3 ปี
เด็กวัยนี้ยังไม่มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเวลา รับรู้ เหตุการณ์ไม่ถูกที่ต้องยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง
ไม่มีความอดทนการแยกจากบิดามารดาเสมือนการถูก ทอดทิ้ง
ความวิตกกังวลจากการแยกจาก เป็นตัวกระตุ้นที่สำคัญที่สุดที่ทำให้เกิดปัญหาด้านจิตใจมากกว่าช่วงอายุอื่นๆ
วัยก่อนเรียน
อายุ 3 - 6 ปี
เคลื่อนไหวร่างกายและช่วยเหลือตนเองได้มากขึ้น จะใช้เวลาส่วนใหญ่ในการเล่น มีจินตนาการกว้างไกล ความกลัว และความวิตกกังวลของเด็กวัยนี้ คือ
กลัวสูญเสียความสมบูรณ์ของร่างกาย กลัวอวัยวะต่างๆ ถูกตัดขาด ยังแยกไม่ออกระหว่างความจริงกับจินตนาการ
ยึดตนเองเป็นศูนย์กลางโดยไม่ฟังความ คิดเห็นผู้อื่น คิดได้เฉพาะเหตุการณ์ปัจจุบันยัง คาดการณ์ล่วงหน้าไม่เป็น
แนวทางการพยาบาล
อธิบายเหตุผลต่างๆ ด้วย คำพูดที่เป็นรูปธรรมง่ายๆ
และเป็นความจริงเพื่อปรับความเข้าใจผิดและลดความกลวัเด็กที่กลัวว่าจะสูญเสียอวัยวะ
ใช้การเล่นเป็นสื่อสร้างสัมพนัธภาพให้เด็กค้นพบ รับรู้ และจินตนาการที่ถูกต้อง
เปิดโอกาสให้เด็กได้สำรวจจับต้องเครื่องมือแพทย์และอธิบายให้ฟังอย่างง่ายๆ
เมื่อจำเป็นต้องผูกยึดเด็ก ควรปฏิบัติกิจกรรมการรักษาพยาบาลอย่างรวดเร็วด้วยความเมตตา และปลอบเด็ก
ควรให้มารดาเฝ้าอยู่ในโรงพยาบาลเพื่อลดความวิตกกังวล
วัยเรียน
อายุ 6 - 12 ปี
ความกลัวที่ยิ่งใหญ่สำหรับเด็กวัยนี้ คือ ภาวะที่ถูกคุกคาม การสูญเสียการควบคุมและ
กลัวร่างกายได้รับบาดเจ็บ เริ่มกลัวความตาย เด็กต้องการคำอธิบายที่เป็นเหตุเป็น
ผลเชิงวิทยาศาสตร์มากขึ้น
แนวทางการพยาบาล
ให้ช่วยเหลือตนเองเท่าที่สามารถทำได้ ส่งเสริมความเป็นอิสระในการเคลื่อนไหว
จัดกิจกรรมการเล่นที่ส่งเสริมให้ใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก และความคิด สร้างสรรค์ เช่น ตัดกระดาษ พับกระดาษระบายสี และกิจกรรมอื่นๆ ที่ เด็กสนใจ
อธิบายให้เด็กฟังเกี่ยวกับโรค การรักษาพยาบาล การดูแลตนเองอย่างเป็นเหตุเป็นผลในเชิงวิทยาศาสตร์ด้วยข้อความง่ายๆ และเป็นรูปธรรม
บอกเหตุผลก่อนปฏิบัติการพยาบาล เพื่อให้เด็กร่วมมือในการรักษาพยาบาลมากขึ้น
ในแต่ละเวรควรมีเวลาพูดคุยกับเด็กและบิดามารดาต่างหากที่ไมใช่การพูดคุยในขณะที่กำลังปฏิบัติการรักษาพยาบาล ต้องบอกกับเด็ก และบิดามารดาให้ทราบว่าเป็นเวลาที่จะพูดจะถามเรื่องอะไรก็ได้ที่ต้องการทราบ
เปิดโอกาสให้เด็กได้มีกิจกรรมร่วมกับผู้ป่วยเด็กวัยเดียวกัน
วัยรุ่น
อายุ 12 - 21 ปี
วัยรุ่นตอนกลาง (อายุ 14-18 ปี) จะอดทนต่อความเจบ็ปวดและการที่ต้องอยู่ในโรงพยาบาลด้ดีกว่า แต่จะมีปัญหาด้านจติใจ เมื่อต้องพึ่งพาคนอื่นมากขึ้น อาจรู้สึกขัดแย้งในใจ เพราะวัยนี้ต้องการเสรีภาพมาก
วัยรุ่นตอนปลาย (อายุ 18-21 ปี) จะยอมรับความช่วยเหลือจากครอบครัวและทนตอ่การต้องพึ่งพาผู้อื่นได้บ้าง ปัญหาของเดก็กลมุ่นี้คือ การเป็นโรคที่จะเป็นอุปสรรคต่อการประกอบอาชีพและแบบแผนการดำเนินชีวิต
วัยรุ่นตอนตัน (อายุ 12-14ปี) จะยินยอมพึ่งพาบิดามารดาโดยไม่มีปัญหา เด็กกลุ่มนี้จะกังวล เกี่ยวกับร่างกาย หน้าที่ของร่างกายและการเคลื่อนไหว
แนวทางการพยาบาล
กระตุ้นและปิดโอกาสให้เด็กได้พูดเกี่ยวกับความกังวล ความกลัว ความสงสัย
ให้เด็กมีส่วนร่วมในการวางแผนการพยาบาล และกิจวัตรประจำวัน ขณะอยู่โรงพยาบาลให้มีโอกาสในการตัดสินใจบ้าง เพื่อให้มีความรู้สึกอิสระ เรียนรู้ที่จะรับผิดชอบในกิจกรรมนั้นๆ
กระตุ้นให้เด็กชว่ยเหลือตนเองมากทที่สุดเท่าที่จะทำได้ และให้เวลาสำหรับการอธิบายเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวกับการรักษาพยาบาล และการดูแล ตนเองอย่างเพียงพอ
จัดกิจกรรมให้เด็กทำกิจกรรมร่วมกัน และเปิดโอกาสใหเ้พื่อนมาเยี่ยม และติดต่อทางโทรศัพท์ได้
เปิดโอกาสให้ครอบครัวได้พบปะกันตามลำพัง เพื่อพูดคุยเกี่ยวกับปัญหาและช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน เป็นการส่งเสริมความรักความผูกพันภายในครอบครัว
ระยะ
2.ระยะปฏิเสธ (despair)
ระยะนี้เด็กจะร้องไห้น้อยลง กิจกรรมต่างๆ ลดลง ซึม ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม การเล่นหรืออาหาร ถอยหนีจากผู้อื่น ดูเศร้าโศกอ้างว้าง แยกตัวเองและเฉยเมย
ที่เป็นลักษณะเฉพาะ คือ
เศร้าซึม
เป็นผลเนื่องมาจากหมด หวังที่ประท้วงแล้วไม่ได้ผล ไม่สามารถเรียกร้องให้บิดามารดา กลับมาได้ เด็กคิดว่าบิดามารดาจะไม่กลับมาหาอีก อาจ ทอดทิ้งไปเลย
เด็กจะลดความไว้วางใจบิดามารดาลง
ระยะนี้เด็กจะยอมร่วมมือกับการรักษาที่เจ็บปวดต่อต้าน เพียงเล็กน้อย ยอมรับประทานอาหาร
การที่เด็กเงียบเฉยด้วยความเศร้าทำให้เข้าใจผิดคิดว่าเด็กปรับตัวได้แล้ว
การดูแลเด็กในระยะหมดหวัง
ยอมรับในพฤติกรรมถดถอยของเด็ก และไม่สนับสนุนหรือกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมดังกล่าว
ฝึกฝนทักษะในกิจวัตรประจำวันที่เด็กเคยได้แล้วที่บ้าน เช่น การพูด การฝึกขับถ่าย ซึ่งตามปกติทักษะที่เด็กได้เรียนรู้ล่าสุดจะเป็นทักษะแรกที่เด็กลืม ไม่สามารถทำได้เมื่อเกิดภาวะเครียด
ปลอบโยน อยู่ใกล้ชิต กอด โยกกล่อมเด็ก
จัดกิจกรรมการเล่น เพื่อให้เด็กได้ระบายความโกรธ โดยการเล่นของเล่นที่ต้องใช้กำลัง เช่น การเล่นตอก ตำทุบ เตะหรือโยนลูกบอล ปั้นดินเหนียว ดินน้ำมันหรือเล่นสมมุติกับตุ๊กตา หรือเล่านิทาน ประกอบหุ่นมือ
จัดกิจกรรมการเล่นเพื่อช่วยลดความรู้สึกแยกจาก เช่น เล่นจ๊ะเอ๋ ซ่อนหา เล่านิทาน เกี่ยวกับการจากกันแล้วกลับมาอยู่ร่วมกันใหม่
ระยะปฏิเสธ (denial o detachment)
เด็กจะหันกลับมาสนใจสิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็ก ซึ่งมองดูราวกับ เด็กปรับตัวได้แล้ว แต่ที่จริงเป็นการเก็บกดความรู้สึกที่มีต่อบิดา มารดานั่นเอง
เด็กจะแสดงท่าทางราวกับว่าไม่เดือดร้อนไม่ว่าบิดามารดาจะมา หรือไป
แสดงการปฏิเสธบิดามารดา
เด็กจะ
สร้างสัมพันธภาพอย่างผิวเผินกับเจ้าหน้าที่พยาบาล
หลายๆคนแต่หลีกเลี่ยงจะใกล้ชิดกับคนใดคนหนึ่ง เขาจะกลายเป็นเด็กน่ารัก ท่าทางดูมีความสุข โต้ตอบกับทุกคน
การดูแลเด็กในระยะปฏิเสธ
คงกิจกรรมการพยาบาลในระยะที่ 1 และ 2 ไว้
พูดคุยเกี่ยวกับสมาชิก กิจกรรมในครอบครัวเพื่อคงไว้ ซึ่งความผูกพันต่อเนื่อง
อธิบายให้บิดามารดาทราบว่าเด็กต้องการให้อุ้มให้กอด แม้เขาจะแสดงท่าทีปฏิเสธ เวลาบิดามารดากอดเขาก็ตาม
สนับสนุนให้
บิดามารดาได้แสดงบทบาทในการดูแลบุตร
1.ระยะประท้วง (protest)
ร้องไห้เสียงดัง กรีดเสียงร้อง
ปฏิเสธการดูแลหรือความสนใจของผู้อื่น
จะต่อสู้ ดิ้นรน ขัดขืน ด่าทอหรือผลักไสผู้เข้าใกล้ ไม่สามารถปลอบให้ หายเศร้าโศกได้
การดูแลเด็กในระยะประท้วง
จัดให้มีผู้ดูแลเด็กอย่างสม่ำเสมอ 1 คน ควรเช้าหาพูดคุยกับเด็กขณะที่บิดามารดาอยู่ด้วยเพื่อสร้างความไว้วางใจก่อน
ยอมรับการร้องไห้และอารมณ์โกรธของเด็กให้ความมั่นใจกับเด็กว่าบิดามารดาจะต้องกลับมา
ให้มีเขตปลอดภัย จะไม่ทำการรักษาพยาบาลที่ทำให้เจ็บปวด เช่น บนเตียงนอน ห้องเล่น
ถ้าไม่ขัดกับแผนการรักษา ควรเลื่อนการพยาบาลที่เจ็บปวดออกไปในขณะที่เด็ก ยังอารมณ์เสียหรือบิดามารดาไม่อยู่ด้วยเวลานั้น
ให้ความอบอุ่น มั่นคง และให้ความมั่นใจกับเด็กอยู่ในที่ที่เด็กจะมองเห็น กอดและปลอบโยนเมื่อเดก็ต้องการหรือเข้ามาหา
ผูกยึดเด็กเท่าที่จำเป็น
ให้เด็กมีของรักหรือของคุ้นเคยไว้ติดตัว หรือมอบของเล่นประจำตัว เช่น ผ้าเช็ดหน้า ไว้กับเด็ก เพื่อให้เด็กเกิดความมั่นใจว่าบิดามารดาจะต้องกลับมาหา
ให้บิดามารดามีส่วนร่วมในการวางแผนการพยาบาลและปฏิบัติร่วมกัน
อนุญาตให้บิดามารตาได้อยู่กับบตุร หรือให้เขา้เยี่ยมได้ตลอดเวลาถ้าไม่ขัดกับแผนการรักษา เปิดโอกาสให้ครอบครัว พี่น้องได้เข้าเยี่ยมและพูดคุยกันจำกัดการเยี่ยมเมื่อจำเป็นเท่านั้น และ
เมื่อบิดามารดาจะกลับบ้านจะต้องบอกลาเด็กเสมอ ไม่ควรหลอกเด็กหรือแอบหนีกลับ
ความหมาย
เป็นความรู้สึกไม่มั่นคงหรือกลัวว่าจะได้รับอันตราย เกิดจากการที่เด็กถูก แยกจากบุคคลสำคัญของเด็ก
พบบ่อยในวัยเด็ก 6เดือน -3 ปี
ระยะเรื้อรัง และระยะสุดท้าย
แต่ละวัย
วัยก่อนเรียน
ส่งเสริมให้เด็กประสบ ความสำเร็จตามพัฒนาการเพื่อ ความมั่นใจและความสามารถของเด็ก
วัยเรียน
ต้องให้เด็กมีส่วนร่วมในการดูแล ตนเองและการตัดสินใจเพื่อส่งเสริม ความรู้สึกควบคุมและเรียนรู้สิ่งต่างๆ และจะต้องตอบคำถามอย่างเข้าใจ เพื่อให้เด็กมีความรู้สึก ที่ดีและเห็นคุณค่าในตนเอง
วัยเตาะแตะ
ให้อิสระทั้งที่บ้านและโรงพยาบาล
วัยรุ่น
พ่อแม่ควรส่งเสรมิความเป็นอิสระ กระตุ้นให้ทำกิจวตัรประจำวันส่งเสริมสัมพันธภาพกับแพทย์ พยาบาลโดยไม่ต้องผ่านพ่อแม่ นอกจากนี้ ความเจ็บป่วยอาจมีผลต่อภาพลักษณ์ของวัยรุ่น การแตกต่าง จากเพื่อนทำให้เด็กถอยหนีจากการมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อน
วัยทารก
สร้างความไว้วางใจและเรียนรู้โดย ผ่านประสาทสัมผัส
การส่งเสริมการเผชิญความเครียด
สังเกตปฏิกิริยาต่อความเจ็บป่วย พฤติกรรมการปรับตัว ความเข้าใจเกี่ยวกับความเจ็บป่วย
ส่งเสริมการเผชิญความเครียดของเด็กคือ
การลดความรู้สึกที่ แตกต่างและส่งเสริมการมีกิจกรรมที่ปกติ
มีส่วนร่วมกับพ่อแม่ในการสร้างความ เข้มแข็งให้เด็ก กระตุ้นให้เด็กได้แสดงความรู้สึกกลัว เศร้าและเหงา
เด็กที่พัฒนาความเป็นอิสระอย่างดีจากพ่อแมจ่ะปรับตัวต่อการเจ็บปวดเรื้อรังได้ดี แต่เด็กที่ถูกเลี้ยงแบบปกป้องเกินไป มักมีพฤติกรรมพึ่งพา ไม่ตื่นตัว
การช่วยเหลือพ่อแม่ให้ปฏิบัติอย่างปกติ จะทำให้เด็กมั่นใจขึ้นทั้งที่บ้าน โรงเรียนและโรงพยาบาล
วิธีการส่งเสริมการเผชิญความเครียดที่สำคัญ คือ การให้ความหวัง และการให้ข้อมูล
ความตาย
วัยก่อนเรียน
ความตายเป็นการจากไปเป็นการนอนหลับ ความตาย เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นชวั่คราว การมีชีวิตอยู่และความตายเปลี่ยนกลับไปกลับมาได้
ตายแล้วฟื้นได้
วัยเรียน
เมื่อทราบว่าจะต้องตายเด็กจะรู้สึกตกใจ เสียใจ อาจแสดงออกทางคำพูด พฤติกรรมซึม ก้าวร้าว หรือมีอาการทางกาย
วัยหัดเดิน
ความตายของเด็กวัยนี้จึง หมายถึงการสูญเสียผู้ดูแลเท่านั้น มองหาความ ปลอดภัย มีพฤติกรรมถดถอย
วัยรุ่น
ความตายเป็นการจากไปอย่างถาวรและหลีกเลี่ยงไม่ได้
วันทารก
ไม่มีปฏิกิริยาโดยตรงต่อความตาย แต่จะเครียดจากความหิว เจ็บ พลัดพราก
ภาพลักษณ์
เป็นการรับรู้ของบุคคลต่อลักษณะภายนอกของตน เมื่อเจ็บป่วยร่างกายจะเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะภายนอก
โดยเฉพาะเมื่อเริ่มเข้าสู่วัยรุ่น
ปัจจัยที่มีอิทธิพลมีดังนี้
• ปัจจัยด้านสังคมและวัฒนธรรม เช่น สังคมของวัยรุ่น กลุ่มพาไป ล้อเลียน การยอมรับของกลุ่ม
• ปัจจัยด้านจิตใจ
ปัจจัยส่วนบุคคล เช่น เพศ อายุ ขนาดและสัดส่วนของร่างกาย
• สิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกร่างกายที่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์
• กลไกการปรับตัวของบุคคล (Coping)ลักษณะของภาพลักษณ์ที่เปลี่ยนไป
ระยะสุดท้าย
3) ระยะต่อรอง (Bargaining)
เริ่มยอมรับและตระหนักถึงความจริงที่หลีกหนีไม่ได้ และหาที่พึ่งทางใจ พึ่งไสยศาสตร์ หรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์
ช่วยเหลือโดยการสนับสนุนในสิ่งที่อยากทำ ให้ข้อมูลที่เป็นจริง
4) ระยะซึมเศร้า (Depression)
เกิดจากความเสียใจ ทุกข์กับสิ่งต่างๆ ที่ต้องสูญเสียจะแสดงอาการเสียใจ ร้องไห้ ซึม ไม่สนใจดูแลตนเอง หมดหวัง ชอบอยู่คนเดียวเงียบๆ รู้สึกอ้างว้างโดดเดี่ยว
ช่วยเหลือโดยการนั่งเงียบๆ เป็นเพื่อน สัมผัสด้วยความอ่อนโยนแทนการพูด รับฟังสิ่งที่เป็นทุกข์ กังวลใจ
2) ระยะโกรธ (Anger)
โกรธตัวเอง บุคคลรอบข้าง
กล่าวโทษคนอื่น
ช่วยเหลือโดยรับฟัง เปิดโอกาสให้เด็กหรือพ่อแม่ได้ระบาย
5) ระยะยอมรับ (Acceptance)
เป็นการยอมรับความจริงในธรรมชาติแห่งชีวิต ไม่เศร้าโศก หรือกลัวสิ่งใดอีก มีบางคนอาจถึงระยะยอมรับก็ทุกข์ทรมานกับระยะซึมเศร้า
ช่วยเหลือโดยการวางแผนการดูแลเด็ก
1) ระยะตกใจและปฏเิสธ (Shock & denial)
ไม่เชื่อกับสิ่งที่ได้รับทราบ งง พูดไม่ออก ทำอะไรไม่ถูก ใจสั่น อ่อนแรง ร้อนวูบวาบ ตัวชา เมื่อมีสติจะรู้สึกเป็นทุกข์เกินกว่าจะทำอะไรได้ จึง ปฏิเสธความจริง ลืมเรื่องที่ได้รับทราบไว้ก่อน
ช่วยเหลือระยะนี้โดยการให้เวลา และสร้างสัมพันธภาพ รับฟังความทุกข์ ความวิตกกังวล หลีกเลี่ยงสิ่งที่จะท าให้ปฏิเสธมากขึ้น
นางสาวมาติกา สุวรรณทอง เลขที่ 66
รหัสนักศึกษา 612901065