Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีที่มีโรคร่วมกับการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การพยาบาลสตรีที่มีโรคร่วมกับการตั้งครรภ์
ผลกระทบ
ความต้องการอินซูลินไม่แน่นอน
การควบคุมระดับน้ำในเลือด
Diabetic ketoacidosis
Abortion
Fetal death
กาารจำแนกชนิด
Pregestational Diabetes
Type I
Type II
Gestational Diabetes mellitus
GDM A-1
GDM A-2
การคัดกรองขณะตั้งครรภ์
1.การประเมินภาวะเสี่ยง
คลอดผิดปกติ
BMI > 27 kg/m2
ครอบครัว
อายุมากกว่า 35 ปี
2.Glucose challenge test
Glucose 50 g 1 ชม.
Plasma glucose > 140 มก./ดล.
140 - 199 mg/dl
200 mg/dl
การดูแลรักษา
การดูแลก่อนการตั้งครรภ์
การให้คำปรึกษาก่อนการตั้งครรภ์
สภาพทางเศรษฐกิจและสังคม
การเสริมวิตามิน Folic
การประเมินพยาธิสภาพ
การควบคุมระดับกลูโคส
การออกกำลังกาย
ระยะตั้งครรภ์
1.ควบคุมเบาหวาน
ระยะคลอด
การกำหนดเวลาคลอด
การใช้ Insulin
IV fluid
ติดตามสุขภาพทารกในครรภ์
ระยะหลังคลอด
ควบคุมระดับน้ำตาล
ภาวะแทรกซ้อน
การดูแลทั่วไป
Breast feeding
การคุมกำเนิด
การดูแลทารก
Hyperthyroidism , Thyrotoxicosis
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
ตรวจร่างกาย
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ผลกระทบต่อมารดา
แท้งและคลอดก่อนกำหนด
ความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ผลกระทบต่อทารก
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
ต่อมไทรอยด์เป็นพิษแต่กำเนิด
ภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด
แนวทางการรักษา
1.การให้ยา
2.การผ่าตัด
กิจกรรมการพยาบาลระยะตั้งครรภ์
อธิบายเกี่ยวกับโรค
แนะนำการปฏิบัติตัว
อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติรับรู้ถึงอารมณ์ที่เปลี่ยนแปลง
ภาวะฉุกเฉินไทรอยด์
ไข้ 38.5 องศาเซลเซียส
หัวใจเต้นเร็ว ชีพจร 140 ครั้ง/นาที
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ท้องเสีย
สับสน ชัก จนหมดสติ
Hypothyroidism
มีการทำลายเนื้อต่อมไทรอยด์
จากการรักษาผ่าตัด
หรือจากสารรังสีรักษา
จากการขาดไอโอดีน
ผลของภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานน้อยต่อการตั้งครรภ์
แท้ง
คลอดก่อนกำหนด
ทารกตายในครรภ์
ความดันโลหิตสูง
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ทารกมีความบกพร่องในการพัฒนาสมอง
Cretinism
แนวทางการรักษา
Levothyroxine ขนาด 100-200 ug.วัน
ปรับขนาดยาตามระดับ TSH,T4
ติดตามการทำงานของต่อมไทรอยด์ทุกไตรมาส
ความผิดปกติของการหายใจ
อาการ
มีอาการไอเรื้อรัง หายใจลำบากหรือแน่นหน้าอก หายใจมีเสียง wheezing เหงื่อออกมาก หายใจเร็วมากกว่า 35 ครั้ง/นาที
ผลของโรคต่อการตั้งครรภ์
ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ตกเลือด
คลอดก่อนกำหนด
น้ำหนักตัวทารกน้อย
ตายปริกำเนิด
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ฝากครรภ์ตามนัด
หลีกเลี่ยงอากาศเย็นหรือร้อน
รับประทานยาตามแผนการรักษา
นับและบันทึกลูกดิ้น
รับประทานอาาหารเน้นโปรตีน
ระยะคลอด
จัดท่านอนศีรษะสูง
ดูแลให้ออกซิเจนเมื่อหอบ
รับประทานยาตามแผนการรักษา
ประเมินลักษณะการหายใจ ชีพจร สีเล็บ
ระยะหลังคลอด
ได้รับยารักษาโรคหอบหืดอย่างต่อเนื่อง
เน้นป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
ส่งเสริมการเลี้ยงดูบุตรด้วยนมมารดา
วัณโรคปอดในหญิงตั้งครรภ์
มีอาการไอ ซึ่งในระยะแรกจะไอแห้งๆต่อมาจึงมีเสมหะลักษณะเป็นมูกปนหนองจะไอมากขึ้นเวลาเข้านอนหรือตื่นนอนตอนเช้า
ประเภทของการติดเชื้อ
ผู้ที่น่าจะเป็นวัณโรค (Presumptive TB)
ผู้ติดเชื้อวัณโรคระยะแฝง (Latent TB infection)
ผู้ป่วยวัณโรค หรือวัณโรคระยะแสดงอาการ (Active TB)
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำรับประทานยาตามแผนการรักษาของแพทย์
แนะนำรับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง
จัดสิ่งแวดล้อมในบ้านให้อากาศถ่ายเทสะดวก
สวมผ้าปิดปากป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ ไม่ไอจามรดผู้อื่น
ฝากครรภ์ตามนัด
ระยะคลอด
ดูแลให้อยู่ในห้องแยก
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
ระยะหลังคลอด
แยกทารกออกจากมารดาจนการเพาะเชื้อจากเสมหะมารดาได้ผลลบ
ทารกแรกเกิดควรได้รับการตรวจ Tuberculin skin test เมื่อแรกเกิด พร้อมกับให้ยา INH และ rifampicin ทันทีหลังคลอด
ทารกได้รับการฉีด BCG เพื่อป้องกันวัณโรคชนิดแพร่กระจายหลังคลอด
โรคติดเชื้อโคโรน่า
ใช้หลักการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้ออย่างเคร่งครัด
หลีกเลี่ยงการสัมผัส
รักษาระยะห่าง
เลี่ยงการใช้มือสัมผัสบริเวณดวงตา
รับประทานอาหารที่ปรุงสุกใหม่
งดใช้ของส่วนตัวร่วมกับผู้อื่น
ล้างมือบ่อยๆด้วยสบู่และน้ำสะอาด
ไอจาม ปิดปาก
ถ้ามีอาการไข้ไอเจ็บคอ
ฝากครรภ์ตามนัด
การรักษาด้วยยา
Favipiravir (200g)
วันที่ 1 : 8 เม็ดวันละ 2 ครั้ง
วันที่ 2-10 : 3 เม็ด วันละ 2 ครั้ง
ความผิดปกติของทางเดินปัสสาวะ
อาการแสดงจากการเปลี่ยนแปลงการทำงาน
อาการปัสสาวะบ่อย
Creatinine ลดลงอยู่ที่ 0.5 mg/dl
BUN อยู่ที่ 8-10 mg/dl
ไตและท่อไตมีขนาดใหญ่
Urinary trac infection
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรียบริเวณลำไส้
เพศสัมพันธ์ทำให้เกิดการช้ำเล็กน้อย
โปรเจสเตอโรนที่เพิ่มขึ้นทำให้เกิดการคลายตัวของกล้ามเนื้อเรียบ
Asymtomatic bacterial
การรักษาพยาบาล
สุขวิทยาส่วนบุคคล
ดื่มน้ำมากๆ 2,000-3,000 cc/day
หลีกเลี่ยงน้ำชา กาแฟ แอลกอฮอล์
สังเกตการดิ้นของทารก
ส่งตรวจ Urine culture
Symtomatic bacteriuria
Cystitis
อาการ
ปัสสาวะแสบขัด
ปัสสาวะขุ่น
Suprapubic pain
WBC , RED สูง
การรักษา
Ampicillin 500 mg
Amoxycillin 500 mg
Pyelonephritis
อาการ
ไข้สูง หนาวสั่น
ปัสสาวะขุ่น
มึนศีรษะ อาจอาเจียน
แบคทีเรีย > 100,000 โคโลนี/ลูกบาศก์เซนติเมตร
ปวดบั้นเอว
การรักษา
Ampicillin
Ceftriazone
Trimethoprin sulfamethoxazole
Aztreonam
Cefazolin