Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะขาดออกซิเจนในทารก Birth asphyxia หรือ perinatal asphyxia - Coggle…
ภาวะขาดออกซิเจนในทารก
Birth asphyxia หรือ perinatal asphyxia
หมายถึง ทารกไม่สามารถหายใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ ขาดสมดุลการแลกเปลี่ยนก๊าซ ระดับออกซิเจนในเลือดต่ำ(hypoxia) มีการคั่งของคาร์บอนไดออกไซค์(hypercapnia) และมีสภาพเป็นกรดในกระแสเลือด(mrtabolic acidosis) apgar score มากกว่าหรือเท่ากับ 8
กลไกการเกิด
ไม่มีการแลกเปลี่ยนออกซิเจน เกิดจากการที่รกแยกตัวออกจากมดลูก เลือดไม่สามารถไปเลี้ยงทารกได้ เช่น รกรอกตัวก่อนกำหนด (abruptio placenta) รกมีเนื้อตาย (placenta inferction)
มีการนำออกซิเจนหรือสารอาหารจากมารดาไปยังทารกจากมารดาไปยังทารกโดยผ่านทางรกไม่เพียงพอ เช่น มารดามีความดันโลหิตสูง หลอดเลือดมารดาตีบแคบ ทำให้เลือดไปเลี้ยงไม่พอ มารดาซ็อค สูญเสียเลือด การบีบตัวของมดลูก
การไหลเวียนเลือดทางสายสะดือขัดข้อง มีการหยุดไหลเวียนหรือไหลเวียนลดลง เช่นสายสะดือถูกกดทับขณะเจ็บครรภ์หรือขณะคลอด cord compression
ปอดททารกขยายตัวไม่เต็มที่และการไหลเวียนเลือดยังคงเป็นแบบทารกในครรภ์ไม่สามารถปรับไปพัฒนาแบบผู้ใหญ่ได้ เช่น มีน้ำคร่ำคั่งในปอด การหายใจไม่สมบูรณ์
พยาธิสภาพ
ระดับแรงดันออกซิเจนในหลอดเลือดแดงเท่ากับหรือน้อยกว่า 40 mmHg.และมีการคั่งของก๊าซคาร์บอนไดออกไซค์ มากกว่า 80 mmHg. เลือดไปเลี้ยงอวัยวะที่สำคัญที่สุดในร่างกายก่อน คือ สมอง หัวใจและต่อมหมวกไต อวัยวะอื่นๆจะมีเลือดไปเลี้ยงน้อยลง
เริ่มด้วยมีอาหารหายใจแบบขาดอากาศ หายใจแบบแรง (gasping) ประมาณ 1 นาที หายใจไม่สม่ำเสมอและหัวใจเต็นช้าลง หากไม่ได้รบการช่วยเหลือ จะเป็นการหยุดหายใจครั้งแรก (primary apnea) หากได้รับการกู้ชีพ ารกจะกลับไปเป็นปกติ
หากยังไม่ได้ทำการกู้ชีพ ทารกจะพยายามกลับมาหายใจอีกครั้ง โดยทารกจะหายใจไม่สม่ำเสมอ ประมาณ 4 - 5 นาที และจะทรุดลงอย่างรวดเร็ว และจะหยุดหายใจแบบถาวร (secondary apnea) หากทำการกู้ชีพ จำเป็นต้องใส่ท่อช่วยหายใจ
ทารกจำเป็นต้องมร้างความร้อนเพื่อการอยู่รอด เกิดปฏิกิริยาการเผาผลาญโดยไม่ใช้ออกซิเจน ไปดึงglucoseและสารอาหารมาสร้างพลังงาน อาจทำให้เกิดภาวะ hypoglycemia และ hypothermia ได้ เกิดเป็น metabolic acidosis หาไมาได้รับการแก้ไขที่ถูกต้อง ภายใน 8 นาที ทารกจะเสียชีวิต
อาการและอการแสดง
ระยะตั้งครรภ์หรือก่อนคลอด
เลื่อนไหวมากกว่าปกติ ต่อมาจะมีการเคลื่อนไหวลดลง
tachycardia >160 bpm/best line ต่อมาเป็น bradycardia <110 bpm/best line
ระยะคลอด
พบขี้เทาในน้ำคร่ำ
ระยะหลังคลอด
การทำงานของเซลล์ปอดเสียไป ทำให้มีอาการหายใจหอบเหนื่อย ตัวเขียว
การเปลี่ยนแปลงในระบบประสาท ทารกจะซึม หยุดหายใจบ่อย หัวใจเต้นช้าลง ม่านตากว้างขยายไม่ตอบสนองต่อแสง ไม่มีdoll's eye movement และมักเสียชีวิต มีการเปลี่ยนแปลงในสมอง hypoxic ischemic encephalopathy (HIE)
ชัก พบในช่วง 12 - 24 hr.
ระดับความรู้สึกตัวผิดปกติ
สูญเสียกำลังกล้ามเนื้อ พบในช่วง 2 - 3 hr.
การเปลี่ยนแปลงในระบบหัวใจและการไหลเวียนเลือด ผิวซีด หายใจแบบgasping มี metabolic acidosis hypothermia และความดันโลหิตต่ำ
การเปลี่ยนแปลงในระบบทางเดินอาหาร ลำไส่จะบีบแรงชั่วคราว เพื่อถ่ายขี้เถา
การเปลี่ยนแปลงในระบบเผาผลาญ
การเปลี่ยนแปลงในระบบทางเดินปัสสาวะ ปัสสาวะน้อย
Lab Kสูง/ระดับน้ำตาในเลือด 30 mg%/calciumต่ำกว่า 8 mg% ABG = PaCo2 > 80 mmHg/PaO2 < 40 mmHg
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่ากาย
อัตราการเต้นของหัวใจ
การตอบสนองเมื่อถูกกระตุ้น
การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ
สีผิว
อัตราการหายใจ
อาการแสดง
การรักษา
สรุปการรักษาจำแนกตามความรุนแรง
moderate asphyxia ให้ออกซิเจน 100% ทางmask และ bag เมื่อดีขึ้นจึ่งใส่ feeding tube เข้ากระเพาะอาหารเพื่อดูดลมออก ถ้าไม่ดีขึ้นหลังช่วยนาน 30 วินาที ใส่ ET-Tube และนวดหัวใจ
severe asphyxia ให้การช่วยเหลือโดยช่วยหายใจทันทีหลังคลอดเสร็จ โดยใส่ ET-Tube และช่วยหายใจด้วยออกซิเจน 100% ผ่าน bag ร่วมกับการกดนวดหัวใจ หากอาการไม่ดีขึ้นจึงรักาาด้วยยา การเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น
1.อัตราการเต้นของหัวใจทารก
2.การตอบสนองเมื่อถูกกระตุ้น เช่น การไอ การจาม
3.ลักษณะสีผิว
4.อัตราการหายใจ มีความสม่ำเสมอ
5.การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ
mild asphyxia ให้ความอบอุ่น ทำทางเดินหายใจให้โล่ง กระตุ้นการหายใจ ให้ออกซิเจนหรือ mask ถ้าอาการดีขึ้น มีคะแนน APGAR ที่ 5 นาที>8คะแนน หาก 5 นาที<4คะแนนให้ช่วยเหลือแบบ moderate asphyxia
1.การให้ความอบอุ่น เพื่อป้องกันภาวะไม่ให้ร่างการสูญเสียความร้อน ให้อยู่ภายใต้ radiant warmer หรือหลอดไฟที่อบอุ่น แล้วเช็ดผิวหนังทารกให้แห้งอย่างรวดเร็ว ห่อตัวด้วยผ้าผืนใหม่
2.ทำทางเดินหายใจให้โล่ง (clearing the airways) ใช้ลูกสูบยางแดงดูดสิ่งคัดหลั้่งในปากก่อนแล้วจึงดูดในจมูก ดูดให้หมดก่อนคลอดลำตัว กรณีมีขี้เทา ต้องรีบดูดออกทันที่ที่ศีรษะทารกคลอด ถ้าทารกไม่หายใจ ตัวอ่อน หัวใจเต้นช้ากว่า 100 bpm ใส่ endotracheal tube ดูดขี้เทาออกจากคอหอยและหลอดคอให้มากที่สุด
3.การกระตุ้นทารก (tactile stimulation) การเช็ดตัวทารกและดูดเมือกจากปากเป็นการกระตุ้นให้หายใจได้ดี ลูบหลัง หน้าอก ดีดเส้นเท้าทารก ซึ่งจะได้ผลดี
4.การให้ออกซิเจน ให้ 100% ผ่านทางmask โดยใช้มือผู้ให้ทำเป็นกระเปาะ 5 l/min จมูกทารกประมาณ 1 นิ้ว
5.การช่วยการหายใจ (ventilation) โดpใช้maskและbag มีข้อบ่งชี้
หายใจแบบ gasping
2.อัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 100 bpm
3.เขียวขณะหายใจได้ออกซิเจน 100%
6.การใส่ท่อหลอดลมคอ
1.เมื่อต้องช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก
2.ช่วยหายใจด้วย mask และ bag แล้วไม่ได้ผล
3.ดูดสิ่งคัดหลั่งในหลอดลมคอ
4.เมื่อต้องการนวดหัวใจ
5.ทารกมีไส่เลื่อนกระบีงลม
7.การนวดหัวใจ (chest compression) อัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 60 bpm หรอ ช่ววยหายใจด้วยออกซิเจน100%นาน 30 วินาทีนวดบริเวณกระดูกสันอกตรงตำแหน่งหนึ่งส่วนสามของกระดุกสันอก ความลึกประมาณ 1/3 ของความหนาของทรวงอกและอัตราส่วนระหว่างการนวดและช่วยหายใจ 3 : 1
8.การให้ยา (medication)
Epinephrine ให้ยาเข้นข้น 1 : 10,000 ปริมาณ 0.01 - 0.03 mg/kg ผ่าน iv ขะได้ผลเร็วกว่าหลอดลมคอ
การเพิ่ม volume เมื่อทารกมี hypovolemic โดยให้ NSS
Naloxone hydrochroride (Narcan) เป็นยาต้านสารเสพติดที่กดการหายใจ
การพยาบาล
1.เตรียมบุคลากร RN อย่างน้อย 2 คน กุมารแพทย์ 1 คน
2.ดูดสื่งคัดหลั่งให้มากที่สุดก่อนคลอดลำตัว
3.เช็ดตัวทารกให้แห้งทันทีหลังคลอดและห่อตัวเพื่อรักษาความอบอุ่น
4.บันทึกอัตราการหายใจ
5.สังเกตุอาการขาดออกซิเจน
6.ดูแลให้ได้รับการตรวจทางห้องปฏิบัติการและได้รับยาตามแผนการรักษา
7.ดูแลให้ได้รับสารน้ำตามแผนการรักษา
8.ดูแลความสะอาดของร่างกาย
9.ดูแลให้พักผ่อน
10.ส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก