Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Meconium aspiration syndrome, นางพิชญา สานต๊ะ เลขที่ 49 :pencil2: -…
Meconium aspiration
syndrome
สำลักขี้เทาในน้ำคร่ำ เข้าปอด
GA 24 wkเคลื่อนไหวทรวงอกติ้นๆ ไม่สม่ำเสมอ 30-90 bpm
GA 34 wk ทารกเคลื่อนไหวทรวงอกสม่ำเสมอขึ้น 40-60 bpm
การขาดออกซิเจนในทารก
กระตุ้นให้ทารกในครรภ์หายใจ
grasping respiration
ทำให้น้ำคร่ำเคลื่อนเข้าสู่ปอดทารก
ปัจจัยเสี่ยงของทารก
postterm
ทารกแรกคลอดน้ำหนักต่ำ
การคลอดที่ยาวนาน
มารดาความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ ทำให้เลือดไปเลี้ยงรก และทารกไม่พอ เกิดภาวะพร่องออกซิเจนของทารก
มารดามีภาวะครรภ์เป็นพิษ
ทารกมีน้ำหนักมากเกิน
พยาธิวิทยา
ในน้ำคร่ำมีขี้เทาปน จากภาวะที่ทารกขาดออกซิเจน
ทารกหายใจสูดเอาขี้เทาเข้าไป
หากขี้เทาขนาดใหญ่ จะอุดตันหลอดลมใหญ่
การขาดออกซิเจนจะรุนแรงมากขึ้น
สำลักก้อนขี้เทาเล็กๆ กระจายไปอุดตันท่อเล็กๆ
เกิดการอุดตันอย่างสมบูรณ์
ball valve mechanism
ใต้ตำแหน่งที่อุดตัน อากาศที่ขังอยู่เรียกว่า
hyperinflation
pneumothorax / pneumo mediastinum
ขี้เทาทำให้เกิดปอดอักเสบ
O2 ในเลือดต่ำ CO2 สูงขึ้น
เกิดแรงดันเลือดในปอดสูงขึ้น
อาการแสดง
มีประวัติ fetal distress
Apgar score ต่ำ
มีขี้เทาในน้ำคร่ำ
ความรุนแรง
รุนแรงน้อย
ทารกหายใจเร็ว เพื่อเพิ่ม minute ventilation
ความดันคาร์บอนไดออกไซค์ลดลง
ความเป็นกรด - ด่างของเลือด ปกติ
อาการหายไปใน 24 ชั่วโมง
รุนแรงปานกลาง
อาการแสดงการกดกากรหายใจ
หายใจเร็ว ซี่โครงบุ๋ม ขณะหายใจ
เกิดภาวะเขียวคล้ำ
อาการจะรุนแรงมากขึ้น
หายได้เอง 4-7 วัน หากไม่มีภาวะแทรกซ้อน
รุนแรงมาก
เกิดหายใจล้มเหลวหลังคลอด
ฟังปอด rhonchi / crackle
severe birth aphyxia
การรักษา
เตรียมอุปกรณ์ suction / ใส่ tube
เมื่อศีรษะพ้นช่องคลอด เอาลูกสูบยางแดงดูด
เสมหะ น้ำคร่ำในปากและจมูก
ขี้เทาเหนียวมาก ใส่ท่อช่วยหายใจและดูดขี้เทาออก
หากทารกไม่หายใจ ให้ใช้ออกซิเจนแรงดันบวก
ดูดขี้เทาออกจากกระเพาะอาหาร ใส่ NG Tube
นางพิชญา สานต๊ะ เลขที่ 49
:pencil2: