Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ
ลักษณะของเสมหะ
เสมหะเหนี่ยว
มีมูกคล้ายเเป้งเปียก
มีความยืด หนืดมาก
ขับออกได้ยาก
เสมหะไม่เหนี่ยว
เป็นเมือกเหลว
มีความยืดเเละหนืดน้อย
การหายใจมีปรกมูกบาน(nasal flaring)
เป็นลักษณะของการหายใจลำบาก
ขณะหายใจเข้มรการบานออกของ ปีกจมูกทั้ง2ข้าง
ขณะหายใจเข้ามีการยุบลง (retraction)
เสียงหายใจผิดปกติ
เกิดจากการที่ลมผ่านเข้าไปในท่อ ทางเดินหายใจที่มีความผิดปกติ
Stridor sound
เกิดจากการตีบเเคบของบริเวณกล่องเสียงหรือ หลอดลม
ระดับเสียงสูง(high pitch)คล้ายเสียงคราง
พบในเด็กที่เป็น croup ได้เเก่ acute laryngitis,laryngotracheitis เเละ laryngotrachebronchitis
Crepitation
เป็นเสียงเเตกกระจายเป็นช่วงๆ
เกิดจากลมผ่านท่อทางเดินหายใจที่ มีนำ้หรือเสมหะ
พบได้ในภาวะปอดอักเสบ (pneumonia)
Rhonchi sound
เกิดขึ้นเนื่องจากมีการไหลวนของ อากาศผ่านเข้าไปในส่วนทางเดิน หายใจที่ตีบเเคบกว่าปกติ
การตีบเเคบอาจเกิดจากเสมหะอุดกั้น เยื่อบุทางเดินหายใจบวม
หลอดลมบีบเกร็งจากภาวะภูมิเเพ้
Wheezing
เป็นเสียงที่มีความถี่สูงหรือเสียงหวีด
ได้ยินชัดในช่วงหายใจออกเกิดจากหลอดลมเล็กๆ หรือ หลอดลมฝอย
พบในผู้ป่วย โรคหอบ หืด(bronchial asthma)
ภาวะหลอดลมมีความไวในการตีบตัวมากกว่าปกติ (bronchial hyperreactivity)
กลไลการสร้างเสมหะ
การสร้างสารมูก Mucous
การพัดโบกของขนกวัด cilia
การไอ cough refiex
จะเกิดขึ้นเมื่อมีการติดเชื้อ
ต่อมสร้างสารคัดหลั่ง mucus gland
mucous เพิ่มมากขึ้น ทำให้เสมหะเพิ่มมากขึ้น
มีการทำลายเซลล์เยื่อบุหลอดลมเเละทำลาย cilia เพิ่มมากขึ้น
จำนวน cilia ลดลง
ผลที่ตามมาจะมีเสมหะปริมาณมาก เเละเหนี่ยวขนจะไม่ถูกพัดพาออก จากทางเดินหายใจ
ทำให้เกิดการคั่งค้างของเสมหะใน หลอดลมเพิ่มขึ้น
นอกจากนี้พบว่าอากาศเย็นการพัดโบกของ cilia จะไม่มี ประสิทธิภาพ
การไออย่างมีประสิทธิภาพจึงเป็น กลไกที่จะช่วยป้องกันไม่ให้มีการคั่ง ค้างของเสมหะในหลอดลม
อัตราการหายใจของเด็กในเเต่ละวัย
ตำ่กว่า2เดือน ไม่เกิน 60 ครั้ง/นาที
2-12เดือน ไม่เกิน 50 ครั้ง/นาที
1-5ปี ไม่เกิน 40 ครั้ง/นาที
O2saturation มากกว่า95-100%
ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการหายใจ
Stridor เสียงดังคล้ายเสียงคราง
Tachypnea อัตราการหายใจเร็วกว่าปกติ
Bradypnea หายใจช้ากว่าปกติ
Dypnea หายใจลำบาก
Croup
เป็นกลุ่มอาการอุดกลั้นทางเดิน หายใจส่วนบนบริเวณกล่อง เสียง(larynx)และส่วนที่อยู่ใต้ลงมา
สาเหตุ
ฝาปิดกล่องเสียง acute epilottitis
กล่องเสียง acute laryngitis
กล่องเสียง หลอดลมใหญ่ และ หลอดลมฝอยในปอด laryngotracheobronchitis
อาการ
หายใจเข้ามีเสียงฮืด
ไอเสียงก้อน
ไข้ เจ็บคอ หายใจลำบาก
นำ้ลายไหล
ไม่ตอบสนองต่อการพ้นยาทั่วไป
ส่วนใหญ่พ้น Adrenaline ต้องใส่ Endotracheal tube
Tonsilitis/Pharyngitis
สาเหตุ
ติดเชื้อเเบคทีเรีย ไวรัส
อาการ
ไข้ ปวหศีรษะ
ไอ เจ็บคอ
คำเเนะนำ
กินยา Antibiotic ครบ 10 วัน
ป้องกัน ไข้รูห์มาตติค หัวใจรูห์ มาติค หรือกรวยไตอักเสบเฉียบพลัน AGN
การผ่าตัดต่อมทอนซิล Yonsillectomy
มีข้องบ่งชี้
การติดเชื้อเรื้อรัง
เป็นๆหายๆ
ดูเเลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
ควรให้นอนตะเเคงไปด้านใดด้าน หนึ่ง เพื่อสะดวกต่อการระยายเสมหะ
สังเกตอาการเปลี่ยนเเปลงอย่างใกล้ขิด
เมื่อเด็กรู้สึกตัวดีจัดให้เด็กอยู่ในท่านั่ง 1-2ชั่วโมง ให้อมน้ำเข็งทาน อาหารเหลว
ในรายที่ปวดเเผลให้ใช้กระเป๋าน้ำแข็งวางรอบคอถ้าปวดมากให้ ยาเเก้ปวด
หลังผ่าตัด
ส่วนมากกลับบ้านได้ 24-48 ชั่วโมง รับประทานอาหารเเละนำ้ได้เพียงพอ เเละไม่มีภาวะเเทรกซ้อน
ผู้ป่วยอาจมีไข้ บวม หรือรู้สึกตึงๆคล้ายมีสิ่งเเปลกปลอมที่คออาการนี้มักหายใน1สัปดาห์
หลังผ่าตัด 1-2 วันเเรก เพดานอ่อน อาจจะบวมมาก ทำให้หายใจอึดอัด ดังนั้นควรให้นอนศีนษะสูงอมน้ำแข็งเเละประคบนำ้เเข็งบ่อยๆ
หลีกเลี่ยงการเเปรงฟันเข้าไปในช่องปากลึกเกินไปเพราะจะอาจทำให้มี เลือดออกจากเเผลในช่องปาก
ควรรับประทานอาหารอ่อน ควรกลั้วคอทำความสะอาดบ่อยๆเเละเเปรงฟัน หลังรับประทานอาหาร
โดยปกติหลังผ่าตัดประมาณ2-3สัปดาห์เเผลจะหายเป็นปกติ
ไซนัสอักเสบ Sinusiti
เป็นอาการอักเสบของโพรงอากาศข้างจมูก
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อ เชื้อไวรัส เเบคทีเรีย เชื้อรา
ระยะของโรค
Acute sinusitis ไม่เกิน 12 สัปดาห์
Chronic sinustis อาการต่อเนื่อง 12 สัปดาห์
อาการ
มีไข้สูงกว่า 39 *c
ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว
มีนำ้มูกไหล ไอ
รายที่รุนเเรง
มีน้ำมูกใสหรือข้นเขียวเป็นหนอง
ไอ หายใจมีกลิ่นปลาเหม็น
ปวดบริเวณหน้าผาก คิ้ว
อาการ acute จะรุนเเรงกว่าchronic
การดูเเลรักษา
ให้ยา antibiotic
ให้ยาเเก้ปวด ลดไข้เพื่อบรรเทาอาการปวดศีรษะ
ให้ยาแก้เเพ้เฉพาะในรายทีไซนัสอักเสบเรื่อรังที่มีสาเหตุชักนำมาจากโรคเยื่อบุจมูกอักเสบจากภูมิเเพ้ เท่านั้น
ให้ยา steriod เพื่อลดอาการบวมลดการคั่งของเลือดที่โพรงจมูกทำให้รูเปิดของโพรงไซรัสสามารถระบายสารคัดหลั่งได้ดีขึ้น
หอบหืด Asthma
เป็นภาวะที่มีการอักเสบเรื้อรังของ หลอดลม
มีผลทำให้เยื่อบุผนังหลอดลมมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อสารภูมิเเพ้ มากกว่าปกติ
ทำให้หลอดลมหดเกร็งตัวbrochospasm
ทำให้หลอดลมตีบเเคยลงstenosis
สร้างเมือกเหนี่ยวจำนวนมากhypersecretion
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาขยายหลอดลมได้รับออกซิเจนให้พักเพื่อลดactivity
อาการ
หวัด ไอ มีเสมหะ มีเสียงwheezing ในช่วงหายใจออก
เด็กจะมีอาการไออย่างเดียวเเละมัก จะมีอาการไอร่วมด้วย
การรักษา
พยายามหลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้นเเละใช้ ยาอย่างถูกต้อง
ยาขยายหลอดลม relievers
ช่วยให้หายใจโล่งขึ้น
จะใช้เมื่อปรากฎอาการหอบ ได้เเก่ ventilin
บางรายได้รับการพ้นยากลุ่มcorticosreroids ต้องดูเเลให้บ้วนปากหลังพ้นยาทุกครั้ง
ยาลดบวมเเละการอักเสบของหลอดลม(steroid)เพื่อรักษาป้องกันไม่ให้รุนเเรงขึ้น
สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง
ควันบุหรี่
ตัวไรฝุ่น
ไม่ควรมีตุ๊กตาหมีมีขนในห้องนอนไม่ใช้ไหมพรมในห้องนอนควรเช็ดฝุ่นทุกวัน
ซักหมอน ผ้าปู ปลอกหมอนสัปดาห์ ละ1ครั้ง
ไม่นำสัตว์เลี้ยงเข้าห้องนอน
การใช้ baby haler
ต้องล้างทำความสะอาดบ่อยๆ
ไม่ควรใช้ผ้าถูเพราะทำให้เกิดไฟฟ้าสถิตที่ผนังของ apacer
หลังล้างทำความสะอาดต้องสอนผู้ป่วย
ให้พ่นยา1ครั้ง เพื่อให้ยาจับผนัง ของspacerก่อน
เพื่อการพ้นครั้งต่อไปยาจะเข้าสู่ผู้ป่วย
หลอดลมอักเสบbronchitis
มีการติดเชื้อทางเดินหายใจ
มีการอักเสบอุดกลั้นของหลอดลม
อาการ
ไข้หวัด
มีนำ้มูกใส จาม
ร้องกวน
หายใจเร็ว หอบ หายใจมีปีกจมูกบาน
การรักษา
ให้ยาลดไข้
ให้ยาปฏิชีวนะ
ยาต้านการอักเสบ
ยาขยายหลอดลม
ดูให้ให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ดูแลปัญหาการติดเชื้อและทานอาหารที่มีประโยชน์
ปอดบวมpneumonia
สาเหตุ
สำลักสิ่งแปลกปลอม
ติดเชื้อ เเบคทีเรีย ไวรัส
อาการ
ไข้
ไอ
ดูดน้ำและนมน้อยลง
ซึม
การรักษา
ดูเเลให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ
ดูเเลเรื่องไข้ clear airway suction
ดูเเลให้ได้รับออกซิเจนได้อย่างเพียงพอ
การพยาบาล
สอนการไออย่างถูกวิธี
ในรายที่เสมหะอยู่ลึกให้ postural drainage โดยการเคาะปอดเเละดูดเสมหะเพื่อป้องกันภาวะปอดเเฟบ
จัดท่านอนศีรษะสูง
ดูเเลให้ผุ้ป่วยได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ